Page 74 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 74
๗๓
ั
การใช้หลักบวร ในการป้องกันแก้ปัญหาและการพฒนาคุณภาพชีวิตคนในหมู่บ้าน ชุมชน
ุ
ในระดับจังหวัดอบลราชธานี ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ระยะที่ ๒ จ านวน ๖๐ หมู่บ้าน ครองคลุม ๒๕ อาเภอในจังหวัด
อุบลราชธานี โดยใช้สาสตร์พระราชา ๙ มรรควิธี เริ่มจาก
มรรควิธี ๑ การเพาะเมล็ด การปลูกความดี ความพอเพียงในใจคน
มรรควิธี ๒ การถนอมราก รากเก่า คือพอแม่ ปู่ย่า ตายาย ซึ่งเป็นภูมิปัญญา รากใหม่
่
คือ เยาวชนผู้สืบทอดภูมิปัญญา รากเก่าก็ถูกถนอมไว้ รากใหม่ก็จะเจริญงอกงามขึ้นมา
มรรควิธี ๓ การปักกิ่ง หมายถึง การยกย่องคนดี
มรรควิธี ๔ การเสียบสอด หมายถึง ต้นตอที่เราท าอยู่มีปัญหา ก็สามารถเอาพนธุ์อน
ั
ื่
มาต่อยอดได้
มรรควิธี ๕ การต่อตา หมายถึง การน าเทคโนโลยีต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้
มรรควิธี ๖ ทาบกิ่ง หมายถึง การเชื่อมร้อย ขยายผลกับภาคีต่าง ๆ
มรรควิธี ๗ ตอนกิ่งให้ออกราก หมายถึง กลุ่มไหนที่เจริญเติบโตได้ก็จะเข้าไปส่งเสริม
มรรควิธี ๘ การรมควัน หมายถึง การฝึกอบรม การท าให้ดู
มรรควิธี ๙ ชีวนูสงเคราะห์ หมายถึง การประชาสัมพันธ์
บริบทถนนสำยวัฒนธรรม
ใช้เส้นทางพระสงฆ์ สามเณร บิณฑบาตร หรือถนนภายในวัด หรือถนนภายในโรงเรียน
หรือถนนภายในโคก หนอง นา ในการสร้างวัฒนธรรมด้านจิตใจ ประโยชน์คือท าให้ประชาชนพลเมือง สร้างชาติ
สร้างประโยชน์
- สร้างชาติ เริ่มที่การสร้างคน
- การสร้างคน เริ่มที่การสร้างจิต
- การสร้างจิต เริ่มชีวิตมีธรรม
ถ้าจิตใจของประชาชน คนในชาติมีธรรม มีคุณงามความดีทั้งปวง หรือมีคติธรรมก็จะสร้างชาติ
สร้างประโยชน์
วัฒนธรรมด้านสั่งคม อารมณ์ ท าให้ประชาชนพลเมืองมีสวัสดิภาพ สง่าราศี เช่น การมีกฎระเบียบ
แบบแผน (ครองสิบสี่) มีขนบธรรมเนียม มีจารีตประเพณี (ประเพณี ๑๒ เดือน) มีการผูกมิตรไมตรี มีมารยาท
วัฒนธรรมระเบียบแบบแผนในกำรใส่บำตรหรือตักบำตร
๑) เวลาพระบิณฑบาตรอย่าให้เพิ่นคอย (ไม่ให้รอนาน)
๒) เวลาใส่บาตร บ่เหยียบเงาภิกษุเจ้าคนมีศีล (ยืนหรือนั่งให้ถือตามบริบทของสังคม)
๓) เวลาใส่บาตรแต่งกายสุภาพ แล้วแต่บริบทของชุมชน
๔) เวลาใส่บาตรบ่สวมรองเท้า
๕) เวลาใส่บาตรบ่เอาอาหารอันเป็นเดนหรืออาหารบูดเน่าไปใส่บาตร