Page 64 - เครื่องให้อาหารสัตว์เลี้ยงผ่านแอปพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือ
P. 64
49
รูปที่ 2.50 สเตรนเกจแบบโลหะ และสเตรนเกจแบบสารกึ่งตัวนำ [7]
2.12.2 วงจรวีทสโตนบริดจ์
เนื่องจากค่าความต้านทานที่เปลี่ยนไปมีค่าค่อนข้างต่ำ ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงนิยมนำ
สเตรนเกจมาใช้งานโดยต่อวงจรแบบวีทสโตนบริดจ์ดังในรูปที่ 2.52
รูปที่ 2.51 แสดงการบีบอดของสเตรนเกจในวงจรวีสโตนบริดจ์ [7]
ั
เมื่อทำการป้อนแรงดันให้แก่วงจรบริดวีสโตนบริดจ์ระหว่างขั้วอินพุตบวกและอินพุตลบ
ในสภาวะที่ยังไม่มีแรงมากระทำหรือยังไม่มีน้ำหนักมากระทำต่อโหลดเซลล์ ค่าความต้านทานของส
เตรนเกจภายในจะมีค่าเท่ากันทำให้วงจรบริดจ์อยู่ในสภาวะสมดุล แรงดันเอาต์พุตที่ออกมาระหว่างขั้ว
เอาต์พุตบวกและเอาต์พุตลบจะมีค่าเป็นศูนย์ และเมื่อมีแรงมากระทำหรือมีน้ำหนักมากกระทำต่อ
โหลดเซลล์ จะทำให้สเตรนเกจยืดออกหรืองอเข้าทำให้ค่าความต้านทานภายในสเตรนเกจของแต่ล่ะ
ตัวนั้นเปลี่ยนค่าไป ทำให้วงจรบริดจ์อยู่ในสภาวะไม่สมดุล ทำให้สามารถวัดแรงดันที่เอาต์พุตออกมา
ได้ ยิ่งมีน้ำหนักมากหรือวัตถุที่มากระทำต่อโหลดเซลล์มากเพียงใดก็จะทำให้ค่าความต้านทานของส
เตรนเกจนั้นเปลี่ยนค่าไปมากขึ้นและยังทำให้แรงดันเอาต์พุตมีค่ามากขึ้นด้วย อย่างไรก็ตามแรงดัน
ุ
เอาต์พุตที่ได้จากวงจรบริดจ์นั้นมีค่าน้อยมากจึงต้องอาศัยวงจรขยายสัญญาณเพื่อให้แรงดันเอาต์พต