Page 16 - E - Book เพื่อคนไทย
P. 16

13                                                                                                                                                                                                                                       14
                                                     รองเง็ง


                                                                                                                                      เครื่องดนตรี และเพลงประกอบ ดนตรีที่ใช้ประกอบการเต้น

                                                                                                                             รองเง็ง  มีเพียง  ๓  อย่าง คือ


               การเต้นรองเง็งสมัยโบราณ  เป็นที่นิยมกันในบ้านขุนนาง หรือเจ้าเมืองในสี่                                        ๑.  ร�ามะนา

        จังหวัดชายแดน ต่อมาได้แพร่หลายสู่ชาวบ้านโดยอาศัยการแสดงมะโย่งเป็นเรื่อง                                              ๒.  ฆ้อง

        และมีการพักครั้งละ ๑๐ – ๑๕ นาที  ระหว่างที่พักนั้นสลับฉากด้วยรองเง็ง  เมื่อ                                          ๓.  ไวโอลิน


        ดนตรีขึ้นเพลงรองเง็ง  ฝ่ายหญิงที่แสดงมะโย่งจะลุกขึ้นเต้นจับคู่กันเอง   เพื่อให้เกิด                                            โอกาสที่แสดง    เดิมรองเง็งแสดงในงานต้อนรับแขกเมืองหรือ


        ความสนุกสนานยิ่งขึ้น   มีการเชิญผู้ชมเข้าร่วมวงด้วย   ภายหลังมีการจัดตั้งคณะ                                         งานพิธีต่างๆ   ต่อมานิยมแสดงในงานรื่นเริง  เช่น งานประจ�าปี งานอารี

        รองเง็งแยกต่างหากจากมะโย่ง  ผู้ที่ริเริ่มฝึกรองเง็ง  คือ ขุนจารุวิเศษศึกษากร ถือว่า                                  รายอ  ตลอดจนการแสดงโชว์ในโอกาสต่างๆ  เช่น  งานแสดงศิลป

        เป็นบรมครูทางรองเง็ง  เดิมการเต้นรองเง็งจะมีลีลาตามบทเพลงไม่น้อยกว่า ๑๐                                              วัฒนธรรมพื้นบ้าน


        เพลง  แต่ปัจจุบันนี้ ที่นิยมเต้นมีเพียง  ๗  เพลงเท่านั้น

                                                       วิธีการแสดง          การเต้นรองเง็ง ส่วน


                                                       ใหญ่มีชายหญิงฝ่ายละ  ๕  คน  โดยเข้า

                                                       แถวแยกเป็นชายแถวหนึ่งหญิงแถวหนึ่ง


                                                       ยืนห่างกันพอสมควร  ความสวยงามของ


                                                       การเต้นรองเง็งอยู่ที่ลีลาการเคลื่อนไหว

                                                       ของเท้า มือ   ล�าตัว  และลีลาการร่ายร�า


                                                       ตลอดจนการแต่งกายของคู่ชายหญิง

                                                       และความไพเราะของดนตรีประกอบกัน







             การแต่งกาย   ผู้ชายแต่งกายแบบพื้นเมือง   สวมหมวกไม่มีปีก    หรือ

             ใช้หมวกแขกสีด�า  นุ่งกางเกงขายาวกว้างคล้ายกางเกงจีน   สวมเสื้อ


             คอกลมแขนยาวผ่าครึ่งอกสีเดียวกับกางเกง ใช้โสร่งยาวเหนือเข่าสวมทับ


             กางเกงเรียกว่า  ซอแกะ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20