Page 112 - FVC2015
P. 112

                                                                                                       104
  ตารางท่ี 3.17 ปัญหา แนวทางการแก้ไข และผลตอบแทนหรือประโยชน์ที่ได้รับของเมล่อนผลสด
ผู้เก่ียวข้อง กิจกรรมโลจิสติกส์ เกษตรกร, ลูกค้า บรรจุภัณฑ์
ปัญหาที่เกิดข้ึน
แนวทางการแก้ไขและการเปรียบเทียบก่อนและหลังการปรับปรุง
การติดฉลากสินค้า
ป้ายแสดงรายละเอียดสินค้าที่ใช้ ติดท่ีข้ัวเมล่อนขาดรายละเอียดท่ี สําาคัญท่ีส่ือถึงความพรีเมียมให้ผู้ บริโภครับรู้
ใช้ป้ายเดิม จําาหน่ายเมล่อนผล สด ในราคา 80 บาทตอ่ กโิ ลกรมั
เมื่อออกแบบและจัดทําาป้ายใหม่ให้สวยงาม และมีรายละเอียดครบถ้วน ทําาให้สามารถ ดึงดูดความสนใจจากผู้บริโภค สามารถ จําาหน่ายในระดับพรีเมียมในราคา 85-100 บาทต่อกิโลกรัม
บรรจุภัณฑ์ท่ีใช้ขาดความแข็งแรง ไม่มีช่องระบายอากาศ ไม่มีราย ละเอียดที่สําาคัญ เช่น มาตรฐานท่ีได้ รับ ข้อมูลติดต่อผู้ผลิต เป็นต้น
บรรจุภัณฑ์เดิม จําาหน่ายเม ล่อนผลสด ในราคา 65 บาท ตอ่ กโิ ลกรมั
เมอื่ พฒั นาบรรจภุ ณั ฑใ์ หแ้ ขง็ แรงขนึ้ ออกแบบ ให้สวยงามและมีรายละเอียดที่สําาคัญครบ ถ้วน คาดว่าจะจําาหน่ายในระดับพรีเมียมได้ ในราคา 120 บาทต่อกิโลกรัม
กลอ่ งบรรจภุ ณั ฑท์ นี่ าํา มาบรรจสุ นิ คา้ ไม่มีรายละเอียดของผู้ผลิตให้ผู้ บริโภคได้รับรู้ทําาใหส้ินค้าขาดความ น่าเชื่อถือ (กรณีขายในปริมาณมาก)
ไม่มีลูกค้ารายใหม่เพ่ิมขึ้น และ ไม่ได้รับการติดต่อกลับจาก กลุ่มลูกค้าเดิมที่ซ้ือตามงานจัด แสดงสินค้าต่าง ๆ
เมื่อเพ่ิมสติ๊กเกอร์แสดงรายละเอียดและ ข้อมูลติดต่อผู้ผลิต คาดว่าจะสามารถเพ่ิม จาํานวนลกูคา้ไดเ้พมิ่ขนึ้ไมน่อ้ยกวา่30%และ ทําาให้ผู้ผลิตมีรายได้เพ่ิมข้ึน
ก่อน
หลัง


















































































   110   111   112   113   114