Page 142 - FVC2015
P. 142
ตารางที่ 3.28 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจําากัด (SWOT analysis) ของ ไส้กรอกปลากาฬสินธุ์
จุดแข็ง (Strength)
โอกาส (Opportunity)
- เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการรองรับที่ได้มาตรฐาน เช่น อย. GMP, Pre-HACCP และตราฮาลาล
- สามารถเพิ่มกําาลังการผลิตได้
- ผลิตภัณฑ์สามารถเก็บไว้ได้นาน
- มีคู่แข่งไม่มาก
- มโี อกาสในการแขง่ ขนั สงู เนอื่ งจากเปน็ สนิ คา้ ทงี่ ด ภาษีขาออก
- เป็นผลิตภัณฑ์ฮาลาล
จุดอ่อน (Weakness)
อุปสรรค (Threat)
- การควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบทําาได้ยาก เนื่องจากต้องรับวัตถุดิบจากพ่อค้าคนกลาง
- ผปู้ ระกอบการยงั ขาดความรเู้ กยี่ วกบั ขนั้ ตอนการ ส่งออก และขาดเจ้าหน้าที่การตลาด
- ระเบียบและขั้นตอนในการส่งออกยุ่งยากโดยท่ี จะต้องผ่านหลายหน่วยงาน
- ไส้กรอกปลาเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร ดังนั้นในการ ส่งออกไปยังอินโดนีเซีย จึงต้องผ่านการตรวจ มาตรฐานหลายขั้นตอน
กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด
กลยุทธ์
รายละเอียด
ผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐาน อย. GMP, Pre-HACCP และตราฮาลาล บรรจุใน บรรจุภัณฑ์ที่สวยงาม และอายุการเก็บรักษานาน
การกําาหนดราคา
ควรคาํา นงึ ถงึ ตน้ ทนุ การผลติ และคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาํา เนนิ การตา่ ง ๆ (คา่ ใช้ จ่ายขึ้นกับข้อตกลงกับลูกค้า) และตั้งราคาจําาหน่ายให้เหมาะสม
ช่องทางการจัดจําาหน่าย
จาํา หนา่ ยผา่ นตวั แทนผสู้ ง่ ออกในประเทศไทย ผา่ นผนู้ าํา เขา้ ของอนิ โดนเี ซยี และกระจายสินค้าไปสู่ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก
การสื่อสารทางการตลาด
การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าอาหารไทยที่จัดโดยสําานักงานส่งเสริมการ ค้าระหว่างประเทศ ของกระทรวงพาณิชย์ เป็นต้น โดยจัดกิจกรรมให้ ผู้บริโภคได้ทดลองชิมสินค้า และนําาเสนอจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ เช่น มาตรฐานที่ได้รับการรับรอง เป็นต้น
134