Page 59 - BBLP ejournal2018.docx
P. 59
Journal of Biotechnology in Livestock Production
Table 1 Descriptive statistics for M305, PFAT, PPRO, and PTS of Holstein Friesian crossbred cows in western
part of Thailand
Traits No. Cows No. Records Mean ± SD Min Max
M305 (kg) 3,110 6,929 3,892.24 ± 966.36 1,037.56 7,697.05
PFAT (%) 3,090 6,876 3.55 ± 0.64 1.51 5.99
PPRO (%) 3,103 6,905 3.12 ± 0.25 2.51 4.00
PTS (%) 3,109 6,882 11.96 ± 0.76 9.60 14.38
ล าดับการให้ลูกได้จ าแนกเป็นกลุ่มตามล าดับการให้ลูก จ านวน 3 กลุ่ม ซึ่งโคนมที่มีล าดับการให้ลูก
เกินกว่า 3 ครั้ง จะถูกตัดออกจากชุดข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ อายุเมื่อคลอดลูกจะถูกจ าแนกตามจ านวน
ปีของอายุ โดยโคนมที่มีอายุเมื่อคลอดลูกน้อยกว่า 2 ปี จะถูกตัดออกจากชุดข้อมูล
กลุ่มพันธุ์ (breed group; BG) ถูกจ าแนกตามระดับสายเลือดของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ (Holstein’s
breed fraction; H) จ านวน 4 กลุ่ม ประกอบด้วย BG1 (HF < 81.25%), BG2 (81.25 ≤ HF < 87.5%),
BG3 (87.5 ≤ HF < 93.75%), และ BG4 (HF 93.75%) ระดับของเฮทเทอโรซีส (heterosis; Het) จะมี
ค่าตั้งแต่ 0.00 ถึง 1.00 สามารถค านวณได้จากสัดส่วนทางพันธุกรรมของพ่อและแม่โคนมแต่ละตัว ดัง
สมการ
(SH × DO) + (DH × SO)
Het =
256 × 256
โดย
SH = ระดับสายเลือดของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ของโคพ่อพันธุ์
SO = ระดับสายเลือดของโคนมพันธุ์อื่นของโคพ่อพันธุ์
DH = ระดับสายเลือดของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ของโคแม่พันธุ์
DO = ระดับสายเลือดของโคนมพันธุ์อื่นของโคแม่พันธุ์
256 = ผลรวมของสัดส่วนทางพันธุกรรมของโคแต่ละตัว
หุ่นจ าลองทางพันธุกรรมที่ใช้ในการศึกษามีลักษณะเป็น multiple-traits animal model with
repeated traits โดยมีกลุ่มการจัดการที่ใช้ในการเปรียบเทียบ ล าดับการให้ลูก อายุเมื่อคลอดลูก (เดือน)
กลุ่มพันธุ์ และระดับของเฮทเทอโรซีส เป็นปัจจัยก าหนด (fixed effects) และมีพันธุกรรมแบบบวกสะสม
ของสัตว์แต่ละตัว permanent environment และ residual effect เป็นปัจจัยสุ่ม (random effects) โดย
สามารถเขียนอธิบายได้ดังนี้
49