Page 61 - BBLP ejournal2018.docx
P. 61

Journal of Biotechnology in Livestock Production



                     ค่าองค์ประกอบความแปรปรวน (พันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม) ส าหรับลักษณะ M305, PFAT,
              PPRO, และ PTS จะถูกประมาณค่าด้วยวิธี Restricted Maximum Likelihood procedure (REML) ที่ใช้

              กลวิธีการค านวณค่าแบบ Average Information (AI) โดยโปรแกรม ASREML (Gilmour et al., 2001)
              จากนั้นองค์ประกอบความแปรปรวนที่ประมาณค่าได้จะถูกน ามาค านวณค่าอัตราพันธุกรรม (heritability;

               2
              h ) และสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรม (genetic correlation; r g) ค่าความสามารถทางพันธุกรรม (Estimated
              Breeding Value; EBV) สามารถค านวณค่าได้จากผลรวมระหว่างค่าเฉลี่ยของค่าความสามารถทาง

              พันธุกรรมของโคนมในกลุ่มพันธุกรรมเดียวกัน และค่าเบี่ยงเบนของความสามารถทางพันธุกรรมของโคนม
              ที่ถูกพิจารณา (Westell et al., 1988)

                     ค่าความสามารถทางพันธุกรรมที่ถูกท านายค่าลักษณะ M305, PFAT, PPRO, และ PTS ของแม่โค
              รีดนมแต่ละตัวถูกน ามาค านวณค่าเฉลี่ยแบบ Least Square จ าแนกตามปีที่เกิด เพื่อน ามาค านวณค่า

              สัมประสิทธิ์รีเกรชชั่น (regression coefficient; b) ส าหรับการพิจารณาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงใน
              ความสามารถที่แสดงออกทางพันธุกรรมในสมการเชิงถดถอย ด้วยโปรแกรมส าเร็จรูป SAS (SAS, 2004)



                                               ผลการทดลองและวิจารณ์
                     ค่าอัตราพันธุกรรมส าหรับลักษณะ M305, PFAT, PPRO, และ PTS (Table 2) ของโคนมลูกผสม

              โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยนในพื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศไทย มีค่าเท่ากับ 0.129, 0.041, 0.102, 0.076 และ

              0.079 ตามล าดับ โดยค่าอัตราพันธุกรรมส าหรับลักษณะ M305 ที่ค านวณได้จากการศึกษาครั้งนี้มีค่าอยู่
              ในช่วงของค่าอัตราพันธุกรรมที่รายงานไว้ในประชากรโคนมอื่นๆ (0.10 ถึง 0.43; จินตนา และวิสุทธิ์, 2541;
              ทวี และสมเพชร, 2544; Dematawewa and Berger, 1998; Kadarmideen and Wegmann, 2003) ในขณะ

              ที่พบว่า ลักษณะ PFAT, PPRO, และ PTS มีค่าอัตราพันธุกรรมกว่าช่วงของค่าอัตราพันธุกรรมที่รายงาน
              ไว้ในประชากรโคนมอื่นๆ (0.15 ถึง 0.60 ส าหรับ PFAT, 0.15 ถึง 0.79 ส าหรับ PPRO, และ 0.26 ถึง 0.58

              ส าหรับ PTS; กรมปศุสัตว์, 2559; Gacula Jr. et al., 1968; Gaunt et al., 1968; Castillo-Juareza et al.,
              2002; Chongkasikit et al., 2002; Koonawootrittriron et al., 2009) ทั้งนี้เนื่องจากค่าอัตราพันธุกรรม

              ส าหรับทุกลักษณะที่ท าการศึกษาในครั้งนี้มีค่าในระดับปานกลาง จนถึงระดับต ่า ลักษณะดังกล่าวชี้ให้เห็น
              ถึงสัดส่วนของความผันแปรทางพันธุกรรมที่มีค่าน้อยกว่าความผันแปรของลักษณะที่ปรากฏของโคนม

              ลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชี่ยนในพื้นที่ภาคตะวันตก ซึ่งอาจเป็นผลมาจากแนวทางการคัดเลือกและปรับปรุง
              พันธุ์ของเกษตรกร จะให้ความส าคัญกับการเพิ่มปริมาณผลผลิตน ้านมเป็นหลัก ส่งผลให้พ่อพันธุ์ที่ถูก

              น ามาใช้ประโยชน์ในฟาร์มส่วนใหญ่เป็นพ่อพันธุ์ที่มีความดีเด่นด้านการให้ผลผลิตน ้านม ท าให้แม่โคนมใน
              พื้นที่จึงมีความสามารถทางพันธุกรรมทางใกล้เคียงกัน














                                                           51
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66