Page 18 - หยาดเพชรหยาดธรรม
P. 18

ภูมิปัญญาเพื่อการศึกษาไทย  11




                        ความสุขที่เป็นอิสระด้วยความหลุดพ้นจาก

                        ความใฝ่ทะยานหาสิ่งเสพบำาเรอสุข  ความใฝ่

                        แสวงอำานาจ  และบรรดาทิฏฐิที่ก่อให้เกิด
                        ความแก่งแย่งและแบ่งแยกทั้งหลาย  ภาระนี้

                        จะสำาเร็จได้ก็ต้องมีการฝึกฝนพัฒนาบุคคลซึ่งก็

                        คือ ภารกิจของการศึกษา”

                        คำาปราศรัยของพระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต) ต่อ

                  ชาวโลกดังได้ยกมาให้พิจารณาข้างต้น  คือคำาสรุป

                  สาระสำาคัญของการจัดการศึกษาในทัศนะของพระพุทธ
                  ศาสนาที่สมบูรณ์ทั้งในด้านอรรถและพยัญชนะ  หนัก

                  แน่นและชัดเจนยิ่งนัก  ในรอบหนึ่งร้อยปีมานี้ยากนักที่

                  จะหานักศึกษาของไทยคนใดแสดงความลุ่มลึกทางการ
                  ศึกษาได้ถึงเพียงนี้ เป็นความจริงตรงตามที่ศาสตราจารย์

                  สุมน  อมรวิวัฒน์  ได้เคยตั้งข้อสังเกตไว้ว่า  “ดิฉันคิดว่า

                  ในยุครัตนโกสินทร์นี้  หลังจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า
                  กรมพระยาวชิรญาณวโรรสแล้ว  ก็จะมีพระธรรมโกศาจารย์

                  คือท่านพุทธทาสภิกขุที่ได้นำาพระธรรมคำาสั่งสอนมา

                  จัดให้เป็นระบบระเบียบและเสนอแนวคิดอันเฉียบคม

                  และหลังจากพระธรรมโกศาจารย์แล้ว  ดิฉันคิดว่าพระ
                  ธรรมปิฎก…         ได้มีคุณูปการต่อการรื้อปรับระบบการ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23