Page 493 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 493

คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง   ๔๖๕


                  ๕.  อ านาจของทนายความ


                            ๕.๑  ค าฟ้อง  ค าร้องขอแก้ไขค าฟ้อง  ค าให้การ  ฟ้องแย้ง  ค าร้องและค าแถลง ทนายความ
                  มีอ านาจลงลายมือชื่อแทนตัวความได้ (ฎีกาที่ ๔๑๙/๒๔๙๓, ๑๙๕๙/๒๕๐๐,  ๒๐๐๘/๒๕๐๐,


                  ๓๖๙๘/๒๕๓๑)

                            ๕.๒  ทนายความจะถอนฟ้อง ยอมความ อุทธรณ์หรือฎีกา (ฎีกาที่ ๓๓๘๑/๒๕๒๕) หรือ

                  ขอให้พิจารณาคดีใหม่  (ฎีกาที่ ๓๗๕๐/๒๕๓๓) ไม่ได้เว้นแต่ตัวความจะได้ระบุให้อ านาจไว้ในใบแต่ง

                  ทนายความ (หากยอมความโดยไม่มีอ านาจเท่ากับตัวแทนท าโดยปราศจากอ านาจ  ไม่เป็นโมฆะ

                  ตัวความอาจให้สัตยาบันภายหลังตามมาตรา ๘๒๓ ได้  (ฎีกาที่ ๑๓๒๘/๒๔๘๐))


                                      ถ้าทนายความไม่มีอ านาจในการอุทธรณ์ฎีกา  ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาสั่งให้ท า
                  ใบแต่งทนายความให้มีอ านาจเช่นนั้นได้ก่อนที่ศาลชั้นต้นจะอ่านค าพิพากษาศาลอุทธรณ์หรือศาล


                  ฎีกา (ฎีกาที่ ๑๓๐๘/๒๕๓๕)

                            ๕.๓  ทนายความไม่มีอ านาจรับเงินจากศาล (ฎีกาที่ ๑๙๐/๒๕๓๒) หรือทรัพย์สินที่ศาลสั่งคืน

                  เว้นแต่ได้รับมอบฉันทะจากตัวความ ค่าทนายความที่ศาลพิพากษาให้เวลาชนะคดีเป็นค่าฤชา


                  ธรรมเนียมที่ศาลให้แก่ตัวความไม่ใช่ให้แก่ทนายความ

                            ๕.๔  ทนายความอาจแต่งตั้งให้ผู้อื่น  เช่น เสมียนทนาย ท ากิจการบางอย่างแทนตนได้

                  โดยยื่นใบมอบฉันทะต่อศาลทุกครั้งตามมาตรา ๖๔ รวมทั้งมอบฉันทะให้มายื่นค าฟ้อง (ฎีกาที่

                  ๓๒๑/๒๕๐๓ ประชุมใหญ่,  ๒๒๙๕/๒๕๒๒)


                            ๕.๕ ทนายความทราบนัดของศาลถือว่าว่าตัวความทราบแล้ว (ฎีกาที่ ๗๒๐/๒๕๓๔)

                  ทนายความมาศาล  ก็ถือเท่ากับตัวความมาศาล


                            ๕.๖  การส่งค าคู่ความหรือเอกสารให้แก่ทนายความถือว่าได้มีการส่งโดยชอบแล้ว แต่การ

                  ส่งค าบังคับมาตรา ๒๗๒ ก าหนดให้ส่งแก่ลูกหนี้ตามค าพิพากษา

                             อย่างไรก็ตามมีค าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๒๐/๒๕๓๐ วินิจฉัยว่า “ค าว่าลูกหนี้

                  ตามนัยบทมาตรา ๒๗๒ แห่งป.วิ.พ. หมายความรวมถึงทนายความของลูกหนี้ด้วย การที่

                  ทนายความจ าเลยซึ่งได้ด าเนินกระบวนพิจารณาแทนจ าเลย ลงลายมือชื่อรับทราบค าบังคับในศาล

                  ในวันท าสัญญาประนีประนอมยอมความ ถือได้ว่าทนายความซึ่งเป็นตัวแทนได้กระท าไป

                  ในขอบอ านาจในฐานะทนายความแทนจ าเลยซึ่งเป็นตัวการ ย่อมมีผลผูกพันจ าเลยและถือได้ว่า

                  จ าเลยทราบค าบังคับของศาลแล้ว
   488   489   490   491   492   493   494   495   496