Page 57 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 57

คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง   ๒๙


                                    ๑.๑.๒.๓  การส่งไปยังที่อื่นนอกจากภูมิล าเนาหรือส านักท าการงานของจ าเลย

                  เมื่อตัวจ าเลยยอมรับไว้ หรือเป็นการส่งในศาลแก่ผู้มีอ านาจรับได้  (มาตรา ๗๗)

                                              ศาลชั้นต้นออกหมายนัดฟังค าพิพากษาโดยระบุชื่อโจทก์ร่วม

                  ในหมายนัด  เจ้าพนักงานศาลได้ให้ บ. สามีโจทก์ร่วมลงชื่อรับแทนโจทก์ร่วมในศาล  จึงเป็นการ

                  ส่งหมายนัดโดยเจ้าพนักงานศาลไปยังที่อื่นนอกจากภูมิล าเนาของโจทก์ร่วม  เมื่อ บ. มิใช่ผู้มีชื่อ

                  ระบุว่าเป็นผู้รับหมายโดยตรง และไม่ปรากฏว่าเป็นผู้ซึ่งโจทก์ร่วม  หรือทนายความของโจทก์

                  ร่วมแต่งตั้งให้ท าการแทน    แม้ บ. จะรับหมายในศาลจากเจ้าพนักงานศาล  ก็ถือไม่ได้ว่าเป็นการ

                  รับหมายไว้แทนโจทก์ร่วมโดยชอบ  (ฎีกาที่ ๑๕๕๘/๒๕๒๗)

                                    ๑.๑.๒.๔  การวางหมายซึ่งต้องปฏิบัติตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๗๘

                  ซึ่งการวางหมายเป็นอ านาจของเจ้าพนักงานศาล ที่จะด าเนินการได้เองโดยไม่ต้องให้ศาล

                  มีค าสั่งก่อน


                                              ส่งหมายเรียกและส าเนาค าฟ้องให้แก่จ าเลยทั้งสี่ที่บ้านจ าเลยที่ ๓
                  ขณะที่จ าเลยทั้งสี่ก าลังช่วยกันปลูกบ้านจ าเลยที่ ๓ อยู่  จ าเลยทั้งสี่ไม่ยอมรับหมายเรียก


                  และ ส าเนาค าฟ้อง   เจ้าพนักงานศาลจึงได้ส่งโดยวิธีวางหมายต่อหน้าเจ้าพนักงานต ารวจ ณ ที่นั้น

                  และได้ความด้วยว่าจ าเลยทั้งสี่มีบ้านอยู่ติดกัน และต่างอยู่อาศัยมาคนละสิบกว่าปีแล้ว  กรณีถือ

                  ได้ว่าจ าเลยทั้งสี่มีภูมิล าเนาหลายแห่ง  แม้โจทก์จะน าเจ้าพนักงานศาลไปส่งหมายเรียกและส าเนา

                  ค าฟ้องให้จ าเลยยังภูมิล าเนาอื่น  นอกจากที่ปรากฏในค าฟ้องก็ถือว่าเป็นการส่งหมายเรียกและ

                  ส าเนาค าฟ้องโดยวิธีการวางหมายที่ถูกต้องตามกฎหมาย  (ฎีกาที่ ๔๖๒๖ - ๔๖๒๙/๒๕๓๐)

                                    ๑.๑.๒.๕  การส่งโดยวิธีอื่นตามค าสั่งศาลตามมาตรา ๗๙ อาจท าได้หลายวิธี

                  ที่ใช้มากคือการปิดหมาย ณ ภูมิล าเนาหรือส านักท าการงานของจ าเลย  การปิดหมายกระท าได้

                  หลายวิธี เช่น  ใช้เชือกผูก  ตอกตะปู  แปะติดไว้  หรือวิธีอื่นใดตามที่เห็นสมควรก็ได้  แต่จะต้อง

                  แสดงไว้ในที่แลเห็นได้ง่าย (ฎีกาที่ ๙๕๔/๒๕๔๓) และการประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์

                  และการปิดประกาศหน้าศาล  แต่จะใช้วิธีการตามมาตรานี้ได้ต่อเมื่อใช้วิธีการธรรมดาไม่ได้แล้ว

                  เท่านั้น  การส่งโดยวิธีอื่นนี้  จะมีผลใช้ได้ต่อเมื่อพ้นก าหนด ๑๕ วันนับแต่ปิดหมายหรือประกาศ

                  โฆษณา

                                              ศาลสั่งในตอนรับฟ้องว่า ถ้าส่งหมายเรียกและส าเนาค าฟ้องให้

                  จ าเลยไม่ได้ให้ปิดหมายและส าเนาค าฟ้องตามค าสั่งศาล จึงเป็นการส่งตามค าสั่งศาลตาม ป.วิ.พ.

                  มาตรา ๗๖ วรรคหนึ่ง ไม่ใช่การส่งโดยวิธีอื่น ตามมาตรา ๗๙ วรรคหนึ่ง จึงเป็นการส่งโดยชอบ

                  (ฎีกาที่ ๑๐๘๘/๒๕๑๕)
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62