Page 85 - ลง E book - สำเนา
P. 85

บทที่ 6
                                             ความปลอดภัยในการซ่อมเครื่องจักร



                              วินัย ดวงใจ. (2552). ได้กล่าวถึง ความปลอดภัยในการซ่อมเครื่องจักร ซึ่งสืบค้นจาก
                       (www.npc-se.co.th). ได้หลักการดังนี้
                              ข้อมูลรายงานผลการสอบสวนอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน แต่ละ
                       เหตุการณ์ล้วนแล้วแต่ส่งผลถึงความสูญเสียกับร่างกายและชีวิต ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ก็มักจะมาจากการ
                       กระท าของผู้ปฏิบัติงานเองหรือเกิดจากการขาดความรู้ ทักษะ ความช านาญและความเข้าใจในการ

                       ท างานกับเครื่องจักรหรือมาจากสภาพของเครื่องจักรที่มีการแก้ไข ดัดแปลงส่วนความปลอดภัย
                       ออกไปหรือมีสภาพที่ช ารุดขาดการตรวจสอบบ ารุงรักษา ขาดระบบการจัดการหรือมาตรการส าหรับ
                       ใช้ในการควบคุมการท างานกับเครื่องจักรอย่างปลอดภัยและที่ส าคัญขาดบุคลากรที่มีหน้าที่รับผิดชอบ

                       โดยตรงที่จะควบคุม ก ากับดูแลด้านความปลอดภัยในการท างานกับเครื่องจักรอย่างชัดเจน

                       1. ความหมายของความปลอดภัยในการซ่อมเครื่องจักร

                              - เครื่องจักร หมายถึง สิ่งที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลายชิ้นส าหรับก่อก าเนิดพลังงานเปลี่ยน
                       หรือแปลงสภาพพลังงาน หรือส่งพลังงาน ทั้งนี้ ด้วยก าลังน้ า ไอน้ า เชื้อเพลิง ลม ก๊าซ ไฟฟ้าหรือ
                       พลังงานอื่น และหมายความรวมถึงเครื่องอุปกรณ์ ล้อตุนก าลัง รอก สายพาน เพลา เฟือง หรือสิ่งอื่นที่
                       ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งเครื่องมือกล

                              - เครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร หมายถึง ส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ที่ออกแบบหรือ
                       ติดตั้งไว้บริเวณที่อาจเป็นอันตรายของเครื่องจักร เพื่อช่วยป้องกันอันตรายแก่บุคคลที่ควบคุมหรืออยู่
                       ในบริเวณใกล้เคียง
                              - เครื่องปั๊มโลหะ หมายถึง เครื่องจักรที่ใช้ส าหรับการปั๊มหรือวัสดุอื่น

                              - รถยก หมายถึง รถที่ติดตั้งอุปกรณ์ใช้ส าหรับการยกหรือเคลื่อนย้ายสิ่งขอ
                              - ลิฟต์ หมายถึง เครื่องจักรที่ใช้บรรทุกผู้โดยสารขึ้นลงตามแนวดิ่ง
                              - เครื่องมือกล หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ออกแบบมาส าหรับใช้งานทางกลเพื่อเป็น

                       การทุนแรงหรือทดแทนการใช้ก าลังของผู้ปฏิบัติงาน โดยอาศัยพลังงานจากไฟฟ้า เครื่องยนต์และต้น
                       ก าลังอื่นๆ ปกติจะมีขนาดใหญ่และมีน้ าหนักมากไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ด้วยสองมือ ใช้ส าหรับ
                       เปลี่ยนหรือแปรรูปวัสดุด้วยการตัด เจียร เฉือน กัด ขัดหรืออัดขึ้นรูปมีใช้งานมากในโรงงานแปรรูปไม้
                       โรงงานซ่อมสร้างเครื่องจักรและโรงกลึงทั่วไป
                              แนวทางการด าเนินการจัดการด้านความปลอดภัยที่จะน ามาใช้เป็นเครื่องมือส าหรับ ควบคุม

                       จัดการด้านความปลอดภัยในการท างานกับเครื่องจักรดังนี้
                              1. จัดท าคู่มือหรือขั้นตอนการด าเนินงานและวิธีการปฏิบัติงานกับเครื่องจักรแต่ละชนิดอย่าง
                       ปลอดภัย ตั้งแต่ขั้นตอนการตรวจสอบก่อนใช้งาน ขั้นตอนการควบคุมการเดินเครื่องจักร ขั้นตอนการ

                       ด าเนินเกี่ยวกับการหยุดซ่อม หรือแก้ไขเหตุขัดข้องของเครื่องจักร เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการ
                       ท างาน
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90