Page 9 - ลง E book - สำเนา
P. 9

เกิดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ ารุงที่สูง และสร้างความไม่พึงพอใจให้กับบุคลากรที่ต้องมาท างานนอกเวลา
                       เช่น พนักงานในฝ่ายผลิต หรือพนักงานในฝ่ายซ่อมบ ารุง
                              6.2 การบ ารุงรักษาตามสภาพหรือการบ ารุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Condition – Basde
                       Maintenance : CBM)

                              (ให้ดูที่การบ ารุงรักษาเชิงพยากรณ์หรือการบ ารุงรักษาเชิงรุก)
                              6.3 การบ ารุงรักษาเชิงปรับปรุงแก้ไข (Corrective Maintenance : CM)
                              วิธีการบ ารุงรักษาแบบนี้ต้องมีหลักการ แล้วก็ใช้วิธีการที่เรียกกันว่า “การติดตามสมรรถนะ
                       เครื่องจักร” นั่นเอง โดยที่เมื่อสมรรถนะเครื่องจักรลดลง ก็จะต้องใช้วิธีการในการบ ารุงรักษาหรือเพิ่ม

                       เพื่อท าการปรับตั้ง ให้สภาพเครื่องจักรกลับไปมีสภาพใกล้เคียง หรือเหมือนกับสภาพเดิมให้มากที่สุด
                       อาจจะต้องมีการคาดคะเน มีการวางแผนล่วงหน้า และอาจจะต้องท าการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบาง
                       ชิ้นส่วนของเครื่องจักร ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และนอกจากนั้น วิธีการบ ารุงรักษาแบบนี้ ยังรวม
                       ไปถึงการซ่อมเมื่อเครื่องจักรช ารุด แต่แตกต่างจาก BM ตรงที่ต้องท าการปรับปรุงแก้ไขในสิ่งที่คิดว่า

                       เป็นส่วนที่ท าให้เครื่องจักรช ารุดด้วย อาทิ เช่น การเปลี่ยนแปลงชนิดวัสดุ ขนาดของแบริ่ง ฯลฯ โดย
                       สรุป อาจจะกล่าวได้ว่า CM เป็นวิธีการรักษาที่ผสมผสานกันระหว่าง BM และการท า CORRECTIVE
                       MANTENANCE คือ การเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลังการช ารุดให้ถูกต้อง

                              6.4 การบ ารุงรักษาเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน EMERGENCY MANTENANCE
                              (ดูที่ Breakdown Maintenance (BM))
                              6.5 การบ ารุงรักษาล้มเหลว FAILURE MANTENANCE
                              (ดูที่ Breakdown Maintenance (BM))
                              6.6 ถาวร – การบ ารุงรักษาเวลา FIXED – TIME MANTENANCE

                              (ดูที่ TIME – BASED MANTENANCE (TBM))
                              6.7 การบ ารุงรักษาที่ดีขึ้น,การบ ารุงรักษาปรับปรุง IMPROVENMEBT MANTENANCE
                              ส่วนของการบ ารุงรักษาแบบนี้ เป็นวิธีการที่รวมการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาใน

                       การออกแบบชิ้นส่วนอุปกรณ์ของเครื่องจักร ให้เหมาะสมกับสภาพการใช้งานมากขึ้น
                              6.8 การบ ารุงรักษาตามเครื่องจักร MACHINE – BASED MANTENANCE
                              เป็นแนวความคิดของการบ ารุงรักษา ก่อนที่จะเกิดการช ารุดใดๆ รวมทั้งอาจจะเป็นการ
                       บ ารุงรักษาก่อนการเสื่อมสภาพ ใดๆ เช่น การบ ารุงรักษาเชิงรุก หรืออาจจะเป็นการบ ารุงรักษาในช่วง

                       ระยะเวลาแรกๆ ของอาการที่ส่อแววว่าเครื่องจักรจะเริ่มมีปัญหา เช่น การบ ารุงรักษาเชิงป้องกันหรือ
                       การบ ารุงรักษาเชิงพยากรณ์
                              6.9 การป้องกันการบ ารุงรักษา MANTENANCE PERVENTION
                              เป็นแนวทางในการบ ารุงรักษาหนึ่งที่ต้องการก าจัด หรือขจัดการบ ารุงรักษาออกไป เพื่อให้

                       สามารถใช้งานเครื่องจักรอุปกรณ์ได้โดยไม่มีการขัดจังหวะ ส่วนหนึ่งของวิธีการบ ารุงรักษาแบบนี้
                       ได้แก่ อุปกรณ์ชิ้นส่วนเครื่องจักรที่ไม่ต้องในการบ ารุงรักษา เช่น แบตเตอรี่แบบไม่ใช้น้ ากลั่น
                       แบตเตอรี่แห้ง แบตเตอรี่แบบไม่กินน้ ากลั่น ลูกหมากรถยนต์รุ่นใหม่ที่ไม่ต้องอัดจารบีตลอดอายุการใช้
                       งาน เป็นต้น
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14