Page 23 - PPH Beta1
P. 23
1. ภายหลังการคลอดทารกแล้ว ทําการ clamp สายสะดือ 9. หากมีการขาดของเยื่อหุ้มเด็กขณะคลอดรก ให้ทําการ
ตําแหน่งใกล้ต่อปากช่องคลอด แล้วใช้มือหนึ่งจับไว้ ตรวจภายในช่องคลอดและปากมดลูกด้วยวิธีปลอดเชื้อ
2. วางมืออีกมือหนึ่งไว้บริเวณเหนือต่อกระดูกหัวเหน่า หากมองเห็นเยื่อหุ้มเด็กให้ใช้ sponge forceps คีบออก
ทําให้ stabilized มดลูกเอาไว้ เพื่อที่จะออกแรง counter 10. ทําการตรวจรกอย่างละเอียด เพื่อให้แน่ใจว่ารกคลอด
pressure กับแรงดึงของอีกมือหนึ่งขณะทํา controlled ออกมาครบ หากตรวจพบว่ามีส่วนหนึ่งส่วนใดของรกหาย
cord traction ไป ให้สงสัยว่ามีภาวะรกค้าง ให้ปฏิบัติตามแนวทางการ
3. ขึงมือที่ตรึงสายสะดือเอาไว้ แล้วรอให้เกิดการหดตัว ดูแลเมื่อรกค้าง 3 Uterine massage after delivery of
ของมดลูก (ห้ามคลึงมดลูกขณะที่รกยังไม่คลอด ) placenta
4. เมื่อแน่ใจว่ามีการหดรัดตัวของมดลูก ดึงสายสะดือลง
ในแนว downward อย่างนุ่มนวล ในจังหวะเดียวกับที่อีก
มือหนึ่งทํา counter pressure 3.1 ทําการนวดคลึงมดลูกบริเวณยอดมดลูกผ่านหน้าท้อง
5. หลังจากทํา controlled cord traction แล้ว 30-40 ทันทีจนกว่ามดลูกมีการหดรัดตัวดี
วินาที ( 1 ครั้ง ) หากไม่มีการเคลื่อนต่ําของรกให้หยุด 3.2 ตรวจสอบการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 นาที
ทําหัตถการแล้วตรึงสายสะดือเอาไว้ รอการหดรัดตัวของ 3.3 ทําการนวดคลึงมดลูกซ้ําหากตรวจพบว่ามีการหด
มดลูก เมื่อมีการหดตัวของมดลูกเกิดขึ้นใหม่ ให้กระทํา รัดตัวไม่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
หัตถการเหมือนเช่นเดิมอีกครั้ง 3.4 หากจะหยุดนวดคลึงมดลูก ต้องมั่นใจว่าการหดรัดตัว
6. หากไม่มีการเคลื่อนต่ําของรกให้หยุดทําหัตถการ ของมดลูกอยู่ในเกณฑ์ดีแล้ว
ปล่อยสายสะดือให้ห้อยลงตามแรงโน้มถ่วงของโลก รอ
sign การลอกตัวของรก
7. ห้ามทําการดึงสายสะดือ ขณะที่ไม่มี counter traction
และไม่มีการหดตัวของมดลูกโดยเด็ดขาด
8. เมื่อรกคลอด ให้ประคองด้วยสองมือ แล้วหมุนจนเยื่อ
หุ้มเด็กเป็นเกลียว พร้อมกับดึงรกเพื่อให้คลอดออกมา
อย่างนุ่มนวล
KINDA MGZ | 23SPITAL | 23
TEAMWORK MODEL By SIKAO HO