Page 27 - PPH Beta1
P. 27

1. การลอกตัวของรก (Placenta Separation)








                รกลอกตัวได้โดยอาศัยการหดรัดตัว  (Contraction)  และคลายตัว  (Retraction)  เป็นระยะๆของกล้ามเนื้อมดลูก(Contraction)  และคลายตัว  (Retraction)  เป็นระยะๆของกล้ามเนื้อมดลูก
                รกลอกตัวได้โดยอาศัยการหดรัดตัว
                ส่วนบน  ภายหลังทารกคลอดออกมา  ทําให้ผนังมดลูกหนาขึ้นและโพรงมดลูกจะมีขนาดเล็กลงมาก  ในขณะที่รกยัง

                มีขนาดเท่าเดิมทําให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างพื้นที่ของรก และพื้นที่ของผนังมดลูก เป็นผลให้เกิดการดึงรั้งและฉีก

                ขาดของหลอดเลือดที่ผนังมดลูกบริเวณที่รกเกาะ เลือดจะไหลซึมอยู่ข้างหลังรก เรียกว่า Retroplacental bleeding

                การลอกตัวของรกส่วนใหญ่จะเริ่มต้นตรงกลางรก

                แต่มีบางรายที่อาจลอกที่ริมล่างของรกก่อนก็ได้การลอกตัวนั้นเกิดที่ชั้น Spongiosa และ Decidua

                เมื่อมดลูกหดตัวต่อไปเรื่อยๆจะทําให้รกลอกตัวออกจากผนังมดลูกและเลื่อนจากมดลูกส่วนบนลงมาที่

                มดลูกส่วนล่าง และลงมาอยู่ในช่องคลอด น้ําหนักของรกจะถ่วงให้มีเยื่อหุ้มทารกค่อยๆแยกตัวออกจาก

                Decidua และมีถูกขับตามออกมาจนในที่สุดรกจึงมีการลอกตัวอย่างสมบูรณ์ เมื่อรกลอกตัวและคลอดออกมา

                บริเวณผนังมดลูกส่วนที่รกเกาะจะเป็นแผลและมีเลือดออก ร่างกายจะมีกลไกการควบคุมการตกเลือด

                จากแผลที่เกิดจากบริเวณที่รกลอกตัวโดยกล้ามเนื้อยังคงมีการหดรัดตัวและคลายตัว เป็นการห้ามเลือด

                ตามธรรมชาติ เพราะการตัวตัวของกล้ามเนื้อมดลูกจะบีบ เส้นเลือดที่แทรกอยู่ระหว่างกล้ามเนื้อส่วนที่รก

                ลอกตัวให้ตีบแคบลงทําให้เลือดหยุดไหล และอีกกลไกหนึ่ง คือ การแข็งตัวของเลือดในเส้นเลือด

                ชนิดของการลอกตัวของรก แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ































                                                                                                        KINDA MGZ  | 27SPITAL | 27
                                                                                   TEAMWORK MODEL By SIKAO HO
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32