Page 14 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 14

11





              ผลลัพธ์ (Output)
                       ระบบความรู้ของเครือข่าย ทสม. ที่แสดงออกมาในรูปแบบแผนที่เครือข่าย ทสม. ระดับประเทศ

                       เครือข่าย ทสม. ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าถึงข้อมูล ทสม. ได้อย่างเป็นระบบ
              และมีประสิทธิภาพ


              เทคนิคความส าเร็จ
                     เชื่อมโยงกับระบบเครือข่าย ทสม. โดยใช้เว็บไซต์ และน าข้อมูลมาแสดงผลจ านวน ทสม. ในแต่ละจังหวัด
              ท าเนียบคณะกรรมการเครือข่าย จ านวน ทสม. จิตอาสา ข้อมูล ทสม. ดีเด่น เครือข่าย ทสม. ดีเด่น ข้อมูลสื่อและ
              องค์ความรู้ ข้อมูลพื้นที่เรียนรู้ รูป วีดีโอ รูปถ่าย เป็นต้น




              ชื่อเรื่อง (องค์ความรู้)  ฐานข้อมูลและระบบการจัดการสารสนเทศเชิงพื้นที่เพื่อการจัดการเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน

              ในพื้นที่การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเป้าหมาย
              ผู้เขียน/ผู้จัดท า
                     นายชรินทร์  เดชโชติ     นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
                     สังกัด ศูนย์สารสนเทศสิ่งแวดล้อม

              สาระส าคัญ
                     เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town) เป็นนโยบายของประเทศในการพัฒนาเมืองที่มี
              อุตสาหกรรมเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เติบโตพร้อมกับการเจริญของชุมชน และการรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม

              โดยความร่วมมือกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ทั้งภายรัฐ ผู้ประกอบการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
              ภาคประชาชนในพื้นที่ และ นักวิชาการ โดยจ าแนกตามพื้นที่ได้เป็น 4 ระดับ คือ ระดับโรงงาน (Eco factory) ระดับ
              กลุ่มอุตสาหกรรม (Eco Industrial Estate) และระดับเมือง (Eco Town) ดังนั้น เพื่อความส าเร็จของการพัฒนาเมือง
              ในทุก ๆ มิติ การจัดท าระบบฐานข้อมูลจึงเป็นปัจจัยส าคัญประการหนึ่งของการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาเมืองใน

              ทุกๆ ระดับ เช่น การวิเคราะห์ปัญหา การวางแผน และการจัดท าโครงการต่าง ๆ

              วัตถุประสงค์

                     จัดท าฐานข้อมูลและระบบการจัดการสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการด าเนินงานพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
              ในมิติสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์การพัฒนาเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
              ขั้นตอน/กระบวนการท างาน
                     1. ศึกษาวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูล โดยพิจารณาจากเกณฑ์การพัฒนาเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน

              34 ตัวชี้วัด

                         2. ลงพื้นที่เพื่อส ารวจและจัดเก็บข้อมูลตามโครงสร้างฐานข้อมูลที่ออกแบบในรูปแบบตารางข้อมูล
                         3. การท า Normalization หรือตรวจสอบความซ้ าซ้อนของข้อมูล เพื่อไม่ให้เกิดความสิ้นเปลืองเนื้อที่ในการ

              จัดเก็บข้อมูล
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19