Page 20 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 20
17
ขั้นตอน/กระบวนการท างาน
1. ประชุมกับหน่วยงานระดับจังหวัด ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ชี้แจง
การด าเนินงานโครงการ รับฟังข้อเสนอแนะจากหน่วยงานในพื้นที่เพื่อปรับปรุงกระบวนการท างานเพื่อให้เป็นที่ยอมรับ
ของทุกส่วน
2. แจ้งแผนการด าเนินงานให้กับหน่วยงานในพื้นที่ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการเก็บข้อมูลโดยการตรวจวัดคุณภาพ
อากาศ เก็บตัวอย่างน้ า อากาศ
3. ประสานในการเก็บข้อมูลในพื้นที่ โดยให้หน่วยงานในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการด าเนินการศึกษา การ
วิเคราะห์ข้อมูล และการจัดท ารายงานผลการศึกษา
4. ประชุมรายงานผลการศึกษาให้กับหน่วยงานระดับจังหวัดได้รับทราบความคืบหน้าผลการด าเนินงาน
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน
ผลลัพธ์ (Output)
ศึกษารูปแบบการจัดการมลพิษจากแหล่งทิ้งขยะชุมชนและขยะอิเล็กทรอนิกส์ โดยท าการศึกษาชนิดและ
ปริมาณสารมลพิษที่แพร่กระจายออกมาจากแหล่งทิ้งขยะทางอากาศ รวมทั้งการปนเปื้อนลงสู่ดิน น้ าและน้ าใต้ดิน
มีการเปรียบเทียบปริมาณมลพิษจากแหล่งทิ้งขยะอิเล็กทรอนิคที่มีการเผาและไม่เผา ที่ต าบลแดงใหญ่ อ าเภอบ้านใหม่
ไขยพจน์ เปรียบเทียบแหล่งทิ้งขยะชุมชนที่มีการจัดการแบบถูกหลักวิชาการ (เทศบาลเมืองบุรีรัมย์) และแหล่งทิ้งขยะ
ที่เป็นแบบกองกลางแจ้งและมีการเผา (เทศบาลต าบลกระสัง) สารมลพิษที่ศึกษาเป็นสารพิษอันตรายทั้งที่เป็น
สารก่อมะเร็ง สารก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ สารที่มีผลท าลายประสาทส่วนกลาง ได้แก่ ปรอท โลหะหนัก สารอินทรีย์
ระเหยง่าย สารโพลิไคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน และสารไดออกซิน ผลจากการศึกษา พบว่าการจัดการบ่อฝังกลบ
ขยะทั้งขยะชุมชนและขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างไม่ถูกหลักวิชาการ โดยเฉพาะที่มีการเผา ท าให้เกิดสารมลพิษที่เป็น
อันตรายมาก เช่น สารไดออกซินและสารปรอท แพร่กระจายในอากาศในปริมาณที่สูงมาก สูงกว่าปริมาณที่พบ
3
3
ในบรรยากาศปรกติของเมืองบุรีรัมย์ (ไดออกซิน < 0.6 pg-TEQ/m และ สารปรอท 1.66 ng/m ) ถึง 30 เท่า และ 20 เท่า
ส าหรับสารอินทรีย์ระเหยง่ายในอากาศ พบสารก่อมะเร็งทั้ง 9 ชนิดที่ศึกษามีปริมาณสูง โดยเฉพาะสารเบนซินมีปริมาณ
สูงกว่าค่าเฝ้าระวังในบรรยากาศ 24 ชั่วโมง (2.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ถึง 25 เท่า ส่วนในน้ าใต้ดินพบโลหะหนัก
6+
บางชนิด ได้แก่ Cr และ Pb มีค่า 0.11 mg/L ซึ่งเกินค่ามาตรฐานโลหะหนักในน้ า 0.05 mg/L และ 0.01 mg/L
นอกจากนี้ ภายใต้โครงการวิจัยยังได้ท าการตรวจวัดคุณภาพอากาศให้กับเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ โดยท าการ
ตรวจวัดสารมลพิษทางอากาศ จ านวน 6 พารามิเตอร์ ได้แก่ ก๊าซ NO 2, O 2, CO และ O3 มีค่าต่ ากว่าค่ามาตรฐานเฉลี่ย 1
ชั่วโมง ก๊าซ O3 มีค่าเฉลี่ยรายชั่วโมงใกล้เคียงกับค่ามาตรฐานเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (70 ppb) ฝุ่น PM10, PM2.5 ผลการตรวจวัด
พบว่ามีค่าความเข้มข้นรายชั่วโมงในช่วงวันที่ 27-28 ก.พ.62 มีค่าสูง การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นเฉลี่ยในรอบวัน 24
ชั่วโมง พบ NO2, CO, PM10, PM2.5 มีลักษณะการเกิด Peak ความเข้มข้นสูงคล้ายคลึงกัน มีความเป็นไปได้ ที่จะมี
ความสัมพันธ์กันเนื่องด้วยมาจากแหล่งก าเนิดชนิดหรือบริเวณเดียวกัน จากกิจกรรมเดียวกัน
สรุป ขยะชุมชนและชยะอิเล็กทรอนิกส์เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมส าคัญชองจังหวัดบุรีรัมย์ จากการศึกษาพบแล้ว
ว่า การจัดการขยะที่ไม่ถูกหลักวิชาการจะก่อให้เกิดสารพิษอันตรายปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อมเป็นจ านวนมาก ที่อาจส่งผล
กระทบรุนแรง เรื้อรัง ต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน ดังนั้นจึงควรมีรูปแบบการจัดการขยะอย่างถูกหลัก
วิชาการด้วยเทคโนโลยีและการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อไป