Page 28 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 28
25
ภาพการประชุมชี้แจงโครงการกับประชาชนในชุมชน ภาพการก าจัดผักตบชวาแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
ภาพการติดตั้งแพผักตบชวาในคลองโรงเจ
5. ตรวจวัดคุณภาพน้ าทุก 15 วัน เพื่อประเมินคุณภาพน้ าในคลองโรงเจ และตรวจวัดการเจริญเติบโตของ
ผักตบชวาในแพ เพื่อวิเคราะห์และประมวลผลประสิทธิภาพของแพผักตบชวาที่เหมาะสมในการบ าบัดน้ าเสียในคลอง
โรงเจ
ผลลัพธ์ (Output)
ผักตบชวามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ าในคลองโรงเจให้มีคุณภาพดีขึ้น โดยมีประสิทธิภาพเฉลี่ยในการ
บ าบัดสารอินทรีย์ในรูปความสกปรกของสารอินทรีย์(BOD) ฟอสฟอรัส (TP) และไนโตรเจน (TKN) เท่ากับร้อยละ 60,
59, และ 57 ตามล าดับ ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณของผักตบชวาที่ใส่ในแพเป็น 4 กิโลกรัมน้ าหนักผักตบชวา ต่อ 1
กิโลกรัม BOD ระยะเวลาที่จะสามารถใช้ในการบ าบัดน้ าเสียได้สูงสุดประมาณ 40 วัน จึงต้องมีการก าจัดผักตบชวา
ในแพที่มากเกินพอออกไป เพื่อให้เหลือปริมาณผักตบชวาในแพประมาณ 4 กก./ตร.ม. ซึ่งถ้าระยะเวลาเกิน 40 วัน
ประสิทธิภาพในการบ าบัดน้ าเสียของแพผักตบชวาจะลดลง
ข้อควรพิจารณา
1. การใช้พืชน้ าในการปรับปรุงคุณภาพน้ าในคลองโรงเจเป็นการช่วยลดความสกปรก และความเน่าเสียของน้ า
ลงได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น การแก้ปัญหาคุณภาพน้ าในคลองโรงเจที่จะได้ผลดี จ าเป็นที่จะต้องมีการสร้างระบบบ าบัดน้ า