Page 23 - แผนการสอนพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหัส 2204-2006
P. 23
5) การตั้งชื่อตัวแปร (Variable) ตัวแรกจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรเสมอ และห้ามตั้งชื่อ
ตัวแปรตรงกับค าสงวน (Reserved Word
1.4 เครื่องหมายการด าเนินการในภาษาซี
1) เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators) เป็นเครื่องหมายคณิตศาสตร์
ที่ใช้ในการค านวณต่างๆ ได้แก่ การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น
2) เครื่องหมายการเปรียบเทียบ (Relational and Logical Operators) เป็น
เครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบและตัดสินใจ ได้แก่ มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ เป็นต้น
3) เครื่องหมายทางตรรกศาสตร์ (Logical Operators) เป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการ
เปรียบเทียบ และตัดสินใจ ได้แก่ และ หรือ นิเสธ เป็นต้น
2. การเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบล าดับด้วยภาษาซี
2.1 ค าสั่งที่จ าเป็นในการเขียนโปรแกรมภาษาซี
1) ค าสั่งที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
- ค าสั่ง printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ
- ค าสั่ง putchar() และ puts() ใช้ในการแสดงผลตัวอักษรออกทางจอภาพ
2) ค าสั่งที่ใช้ในการรับค่าข้อมูล
- ค าสั่ง scanf() ใช้ในการรับค่าข้อมูลผ่านแป้นพิมพ์
- ค าสั่ง getchar(), getche() และ getch() ใช้ในการรับค่าข้อมูลประเภทอักษร
1 ตัวผ่านแป้นพิมพ์
- ค าสั่ง gets() ใช้ในการรับค่าข้อมูลประเภทข้อความ(อักษรมากกว่า 1 ตัว)ผ่าน
แป้นพิมพ์
3. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
3.1 ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา (Syntax Error) เกิดจากความผิดพลาดของการ
เขียนค าสั่งผิดรูปแบบ โดยจะเกิดขึ้นตอนกระบวนการแปลโปรแกรมที่เรียกว่าการคอมไพล์ (Compile) ท า
ให้โปรแกรมไม่สามารถน าไปประมวลผล (Run) ได้
3.2 ข้อผิดพลาดทางตรรกะ (Logical Error) เป็นข้อผิดพลาดที่เกิดจากผู้เขียนโปรแกรมเองซึ่ง
ตรวจสอบได้ยากเพราะโปรแกรมจะสามารถคอมไพล์ (Compile) และสามารถน าไปประมวลผล (Run) ได้
3.3 ข้อผิดพลาดระหว่างการประมวลผล (Run-time Error) มักจะเกิดจากความ
รู้เท่าไม่ถึงการณ์ส่งผลให้โปรแกรมหยุดทันทีในขณะที่ก าลังประมวลผลอยู่
4. การท าเอกสารประกอบโปรแกรม