Page 4 - ระเบียบปฏิบัติ 2: เรื่อง การควบคุมกระบวนการบริการ
P. 4

ฝ่ายเวชศาสตร์ชันสูตร                     โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์             WI-GAS 6
                Tel  256-4000,02649-4000 ต่อ 80321   1873  ถนนพระราม 4  ปทุมวัน กรุงเทพฯ  10330   ความไม่แน่นอนของการวัด
                ฉบับที่  1        หน้า  4/7     บริการดี      มีคุณภาพ  เสร็จทันเวลา


                   3.12  ความไม่แน่นอนมาตรฐาน (Standard uncertainty)  หมายถึง  ความไม่แน่นอนของแต่ละองค์ประกอบ  (component)
                        ที่ประเมินได้จากวิธีการประเมินที่เหมาะสมอยู่ในรูป  1  เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

                   3.13  การประเมินความไม่แน่นอนมาตรฐาน type A  เป็นการประเมินความไม่แน่นอนมาตรฐาน  โดยการวิเคราะห์ทาง
                        สถิติของอนุกรมการสังเกต
                   3.14  การประเมินความไม่แน่นอนมาตรฐาน  type  B    เป็นวิธีการประเมินความไม่แน่นอนมาตรฐานโดยวิธีอื่นๆ ที่ไม่ใช้

                        การวิเคราะห์ทางสถิติของอนุกรมการสังเกต  เช่น  จากใบ  certificate
                   3.15  ความไม่แน่นอนมาตรฐานรวม  (combined  standard  uncertainty)    เป็นการรวมองค์ประกอบของความไม่แน่นอน
                        มาตรฐานเข้าด้วยกัน

                   3.16  ความไม่แน่นอนขยาย  (Expanded  uncertainty)    เป็นปริมาณที่ก าหนดช่วงที่ผลของการวัดกระจายอยู่ภายใน  ค่า
                        เหล่านี้สามารถแสดงลักษณะของสิ่งที่ถูกวัดที่คาดว่าจะเป็นไปตามนั้น  ด้วยระดับความเชื่อมั่นที่ระบุไว้ได้จากการ
                        คูณค่าความไม่แน่นอนรวมกับตัวประกอบครอบคลุม

                   3.17  ตัวประกอบครอบคลุม  (coverage  factor)    หมายถึง  ตัวประกอบที่เป็นตัวเลขใช้เป็นตัวคูณกับความไม่แน่นอน
                        มาตรฐานรวม  เพื่อให้ได้ความไม่แน่นอนขยาย

                   3.18  Intermediate precision  หมายถึง  ความใกล้เคียงกันของผลการวัดของสารตัวเดียวกัน ในห้องปฏิบัติการเดียวกัน แต่
                        ต่างเงื่อนไขกัน (ห้องปฏิบัติการเดียวกัน, ตัวอย่างเดียวกัน, วิธีเดียวกัน, เครื่องมือต่างกัน, วัสดุต่างกัน, เวลาต่างกัน)


               4.  หลักการ
                      การวัด  คือ  การตัดสินค่าปริมาณที่ถูกวัด  ไม่มีการวัดใดที่ให้ผลสมบูรณ์  ความไม่สมบูรณ์ท าให้เกิดความคลาดเคลื่อน
                      ของการวัด  เพื่อให้ผลการวัดสามารถเปรียบเทียบกันได้  หรือมีความน่าเชื่อถือ  จึงต้องมีการรายงานผลการวัดพร้อม

                      ความไม่แน่นอนของการวัด


               5.  ผู้รับผิดชอบ
                      นักเทคนิคการแพทย์ / นักวิทยาศาสตร์การแพทย์


               6.  วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ
                      เครื่องคิดเลข/คอมพิวเตอร์


               7.  วิธีด าเนินการ
                 นักเทคนิคการแพทย์/นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะท าการค านวณค่าความไม่แน่นอนของการวัดใน   SD-Form67(ความไม่

                 แน่นอนของการวัด)  ดังนี้
                   7.1  ระบุสิ่งที่ต้องการวัด
                   7.2  ระบุแหล่งที่มาของความไม่แน่นอน  โดยเขียนเป็นผังก้างปลา



               ประกาศใช้วันที่  1 กรกฎาคม 2559                                                             เอกสารควบคุม/ ห้ามไม่ให้ถ่ายเอกสาร
   1   2   3   4   5   6   7