Page 245 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 245

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๒๓๓



                           ส านักงานศึกษาธิการจังหวัดหนองบัวล าภู

                           ประเด็น
                           มีการจัดตั้งศูนย์เสมารักษ์ โดยมีอ านาจหน้าที่

                           ๑. เป็นศูนย์ประสานงานการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา
                           ๒. เฝ้าระวังสถานการณ์และปัญหาความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา โดยการรับแจ้งเหตุ
               จากสายด่วน ๑๕๗๙

                           ๓. ปฏิบัติงานส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ร่วมกับหน่วยงานในสังกัด
               กระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด รวมทั้งเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

                           ๔. ส่งเสริม สนับสนุน งานและกิจกรรมในการแนะแนวให้ค าปรึกษาและฝึกอบรมแก่นักเรียน
               นักศึกษา
                           สาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล าภู

                           ประเด็น
                                                                     ั
                           ๑. การค้นหาสาเหตุของความรุนแรงที่ศูนย์พฒนา
               เด็กเล็กอุทัยสวรรค์ อ าเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล าภู
                           ๒. การช่วยเหลือและเยียวยาจิตใจผู้ที่ได้รับผลกระทบ
                           การด าเนินงาน

                           หน่วยงานด้านสาธารณสุขร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ และชุมชนร่วมกันค้นหาสาเหตุและได้ข้อสรุป
               ว่ามีสาเหตุเบื้องต้นมาจากสารเสพติด จึงได้ร่วมกันหาแนวทางป้องกันการแพร่ระบาดของสารเสพติด

               ในชุมชน เน้นวิธีการค้นหา ติดตามผู้ใช้สารเสพติดและผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดความรุนแรง
               หรือเป็นอันตรายต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน

                           ส าหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มุ่งมั่นให้ความช่วยเหลือดูแลความปลอดภัยและสร้างเสริมกิจกรรม
               ผ่อนคลายความกังวล
                                                 ื่
                           การบริหารสถานการณ์เพอช่วยเหลือเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบ พบว่า (๑) ครอบครัวผู้เสียชีวิต
               จ านวน ๓๓ ครอบครัว (๒) ครอบครัวผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ จ านวน ๖ ครอบครัว (๓) ครอบครัวผู้เสียชีวิต
               และได้รับบาดเจ็บ จ านวน ๒ ครอบครัว (๔) จ านวนกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงสูง ๒๙๙ ราย (๕) ตัวเลขสรุปผล

               ระยะปานกลาง วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๕
                           การด าเนินงานประจ าวัน ได้ตั้งทีมปฏิบัติการเยียวยาจิตใจ (MCATT) ๓๕ คน ประกอบด้วย ๗
               หน่วยงาน ได้แก่ โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์ , ศูนย์สุขภาพจิตที่ ๘ , โรงพยาบาลจิตเวช

               นครพนมราชนครินทร์ , โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ , โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ ,
               โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ , ศูนย์สุขภาพจิตที่ ๙ โดยมีทีมสหวิชาชีพ ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ ,

               นักจิตวิทยา , นักสังคมสงเคราะห์ , เภสัชกร , นักวิชาการสาธารณสุข มีการพฒนาศักยภาพการเยียวยา EMDR
                                                                                 ั
               และวางแผนการเก็บติดตามเคส มีการลงพื้นที่ให้บริการประเมินและคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตผู้อยู่ในเหตุการณ์
                           การด าเนินการระยะยาว (๓ เดือนขึ้นไป) มีการด าเนินงาน ดังนี้

                           ๑. การเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจิตด้วยการใช้เครื่องมือค้นหากลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพจิตด้วย
               MHCI ในกลุ่ม B (นักเรียนใน ๒ โรงเรียน เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และประชาชนทั่วไป/รายทางก่อเหตุ)

                                                        ู
                                                     ื้
                           ๒. จัดกิจกรรม โครงการเพอฟนฟสภาพจิตใจในกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่ที่ได้รับผลกระทบทางอ้อมใน
                                                  ื่
               ชุมชน
   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250