Page 74 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 74

หน้า ๖๒                                                                              ส่วนที่ ๓



               น าตัวไปฝากไว้กับกระทรวงยุติธรรม ซึ่งเป็นมาตรการเร่งด่วน โดยผู้ที่มีพื้นฐานทางจิตอยู่แล้วเมื่อเสพยาเสพ

               ติดกระตุ้นเข้าไปจะหลอนและท าร้ายผู้อื่นซึ่งเป็นปัญหาที่ส าคัญมาก และปัจจุบันนี้ยาเสพติดประเภทยาบ้า
               มีราคาถูกลงและมีจ านวนมากขึ้นมีโอกาสเข้าสู่สังคมง่ายมากขึ้น และรวมไปถึงกัญชาจากข้อมูลด้าน

               สาธารณสุขกัญชาสามารถกระตุ้นผู้ป่วยทางจิตเวชให้เกิดการหลอนได้เป็นเรื่องที่สังคมต้องเฝ้าระวัง ดังนั้น
               ทุกฝ่ายควรจะร่วมมือกันให้เกิดเวทีระดับชาติในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว นอกจากนี้ ยังพบปัญหากรณี
               ผู้ป่วยทางจิตเวชที่เสพยาเสพติดน าส่งโรงพยาบาลจิตเวชที่รองรับผู้ป่วยทางจิตเวชฉุกเฉินมีในทุกจังหวัด

                                                            ี
               แต่ข้อเท็จจริงในโรงพยาบาลขนาดเล็กจะเป็นเพยงแผนกจิตเวชซึ่งสามารถรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินได้
                    ี
               ไม่เพยงพอหรือไม่สามารถรับได้ ซึ่งเมื่อมีผู้ป่วยทางจิตเวชฉุกเฉินเจ้าหน้าที่ต ารวจต้องประสานกับ
                                                           ื้
                                                                                                     ื้
               ทางโรงพยาบาลก่อนน าส่งและเมื่อโรงพยาบาลในพนที่ไม่พร้อมก็ต้องด าเนินการส่งโรงพยาบาลในพนที่อื่น ๆ
               ที่มีความพร้อม ซึ่งก็เป็นปัญหาหนึ่งที่ตามมาโดยเฉพาะด้านงบประมาณรวมไปถึงโรงพยาบาลที่รับรักษา
               แต่มีงบประมาณที่จะสามารถรักษาได้เพยงไม่กี่วัน และเมื่อปล่อยผู้ป่วยกลับบ้านจะต้องมีการติดตาม
                                                     ี
               แต่จากความเป็นจริงการติดตามเป็นการติดตามที่ไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งประเด็นดังกล่าวนี้จะต้องมีการแก้ไข
               ปัญหาอย่างชัดเจนร่วมกันของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

                           ที่ประชุมได้มีการอภิปรายและมีข้อสังเกต ดังนี้
                           ๑. ปัญหายาเสพติดในปัจจุบันมีโครงการในการแก้ไขปัญหาหรือแนวทางวิธีการในการสกัดกั้น
               ปัญหายาเสพติดที่เพิ่มจ านวนขึ้นอย่างไร

                                                                                 ี
                             ผู้ให้ข้อมูลได้ตอบข้อซักถามว่า ปัญหายาเสพติดไม่ใช่เพยงต ารวจหน่วยงานเดียวที่จะ
               สามารถแก้ไขปัญหาได้จะต้องใช้ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาจึงจะเกิด

               ผลส าเร็จอย่างมีประสิทธิภาพได้
                           ๒. ผู้ที่มีประวัติจิตเวชที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดต้องเฝ้าระวัง เจ้าหน้าที่ต ารวจในท้องที่

               ได้มีการติดตามพิเศษหรือเฝ้าระวังอย่างไร
                             ผู้ให้ข้อมูลได้ตอบข้อซักถามว่า ผู้ที่มีประวัติจิตเวชที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดต้องเฝ้าระวัง
               จะมีหน่วยของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขในการดูแลรักษาและวินิจฉัยปล่อยตัวกลับบ้าน

               ซึ่งกฎหมายก็มีก าหนดว่าให้มีการติดตาม และการติดตามนั้นได้มีการประสานหรือแจ้งมาทางในส่วนของ
                                         ื้
               ต ารวจหรือฝ่ายปกครองในพนที่หรือไม่ ซึ่งประเด็นนี้ก็มีส่วนส าคัญที่อยากให้กระทรวงสาธารณสุขได้ดูแล
                                                               ื้
               ส่วนนี้อย่างใกล้ชิดโดยประสานงานกับหน่วยงานในพนที่ โดยอาจแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ต ารวจเพอมาควบคุม
                                                                                                 ื่
               ในส่วนนี้ เพื่อเจ้าหน้าที่ต ารวจจะได้มีอ านาจในการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่หรือในส่วนของการติดก าไล EM
               ก็ยังไม่มีศูนย์ควบคุมซึ่งอาจจะต้องน าไปฝากไว้กับกระทรวงยุติธรรมที่มีศูนย์ควบคุมและรองรับ ซึ่งจะต้อง

               มีการพิจารณาออกกฎหมายก าหนดกฎเกณฑ์ร่วมกันในการปฏิบัติหน้าที่ร่วมกันให้ความชัดเจนและสามารถ
               ด าเนินการได้อย่างเข้มแข็งมากขึ้น

                                                                        ื่
                           ๓. ควรมีการออกกฎหมายควบคุมการใช้กัญชา เพอไม่ให้เกิดปัญหาที่จะตามมา โดยเฉพาะ
               อย่างยิ่งปัญหากัญชาในโรงเรียน ซึ่งปัจจุบันในส่วนของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติยังไม่มีการออก
               มาตรการแก้ปัญหาในเรื่องนี้

                           ๔. การเสริมภูมิคุ้มกันและทักษะทางสังคมให้กับเด็กและเยาวชนเป็นประเด็นที่จะต้องมีการ
               พจารณาหารือ โดยเฉพาะโครงการครูแดร์ ของส านักงานต ารวจแห่งชาติ ที่สามารถเข้าถึงและให้ความรู้
                 ิ
                                     ื่
                                                                                        ื้
               กับเยาวชนในโรงเรียนเพอให้เยาวชนรู้จักปฏิเสธยาเสพติดจากบุคคลภายนอกในพนที่ได้ดีที่สุด ซึ่งปัจจุบัน
               ได้รับการสนับสนุนน้อยลง จึงควรมีการพิจารณาถอดบทเรียนสนับสนุนและเพิ่มเติมโครงการครูแดร์อย่างไร
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79