Page 49 - คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ รหัส 2204-2004
P. 49

ประพจน์ p , q เรียกว่าประโยคเงื่อนไขหรือข้อความแจงเหตุสู่ผล (conditional statement)

                ประพจน์ p เรียกว่าเหตุตัวเงื่อนและ q เป็นผลสรุป

                เช่น p : นุ่นไปเที่ยวนอกบ้าน

                q : คุณพ่อโทรศัพท์ตาม

                ดังนั้น p ,q : ถ้านุ่นไปเที่ยวนอกบ้านแล้วคุณพ่อโทรศัพท์ตาม

                   จากการตรวจสอบเงื่อนไขนี้จะพบว่าประพจน์นี้จะเป็นเท็จกรณีเดียวคือ นุ่นไปเที่ยวนอกบ้าน

                แต่คุณพ่อไม่โทรศัพท์ตาม ดังนั้นจะสามารถแสดงตารางค่าความจริงของประพจน์ p , q ได้ดังนี้















                ประพจน์ p ,q เรียกว่าประโยคเงื่อนไขสองทาง (biconditional statement) คือ ประพจน์ที่มีความหมาย

                เหมือนกับ (p ,q) , (q , p) เนื่องจาก (p , q) และ (q,p) เชื่อมด้วยค าว่า “และ” นั้น p q จะมีค่าความ

                จริงเป็นจริงต่อเมื่อประพจน์ p และประพจน์ q มีค่าความจริงเหมือนกัน ดังตารางต่อไปนี้















                จากตารางค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมทั้ง 5จะพบว่า

                1. ~ p มีค่าความจริงตรงกันข้ามกับค่าความเป็นจริงของ p

                2. p ,q เป็น T กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้ง p และ q เป็น T

                3. p ,q เป็น F กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้ง p และ q เป็น F










                                                                                                                44
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54