Page 132 - การเปนผประกอบการ
P. 132

126










                        การวัดรายได้สุทธิส่วนบุคคล จากความหมายของรายได้สุทธิส่วนบุคคล สามารถวัดรายได้สห
           ส่วนบุคคลจากรายได้ส่วนบุคคล ได้ดังนี้

                  รำยได้สุทธิส่วนบุคคล = รำยได้ส่วนบุคคล – ภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ - พันธะผูกพันอื่นๆ

                        แหล่งใช้ไปของรายจ่ายรายจ่ายส่วนบุคคล (Personal Expenses) หมายถึง รายจ่ายของ

          บุคคลซึ่งจะเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ เพื่อการดํารงชีพ ในทางปฏิบัติตามบัญชีจํานวนเงินที่ผ่อนชําระนั้นแบ่งเป็น  2

           ส่วน คือ ดอกเบี้ยและ จํานวนที่ผ่อนชําระคืนเงินต้นและถือเป็นค่าใช้จ่ายเฉพาะส่วนของดอกเบี้ยเท่านั้น

          การจัดทํารายจ่ายของแต่ละบุคคลต้องมีรายได้ที่เพียงพอต่อความต้องการของบุคคล  แบ่งได้ 3 ด้าน

                        1. รายจ่ายที่ต้องจ่ายประจํา เป็นรายจ่ายที่ต้องจ่ายเป็นประจํา ไม่สามารถควบคุมหรือลด

          จํานวน ลงได้ในระยะสั้น เนื่องจากต้องจ่ายตามสัญญาและตามงวดเวลาที่กําหนด  เช่น ค่าผ่อนบ้าน ค่าผ่อน

          รถยนต์ ค่าเบี้ยประกันชีวิต เป็นต้น
                        2. การออม สําหรับบุคคลทั่วไปที่ต้องการความมั่นคงปลอดภัยหลังจากวัยทํางานจะต้องมี

          การ วางแผนการออมไว้ส่วนหนึ่ง เพื่อใช้จ่ายหลังจากที่ทํางานไม่ไหว หรือในกรณีที่มีเงินบําเหน็จบํานาญอยู่

          แล้ว ก็ยังต้องการออมเพื่อการท่องเที่ยว  สร้างสาธารณประโยชน์ ใช้ในเทศกาลต่างๆ

                        3. ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจําวัน เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาหาร เสื้อผ้า เครื่องใช้ในครัวเรือน

           และ ค่าใช้จ่ายของสมาชิกในครอบครัว

                        1. จํานวนรายได้ของครอบครัวรวมทั้งหมด  จะเป็นปัจจัยที่ใช้ในการกําหนดงบประมาณ

          รายจ่าย ค่าอาหารไว้ว่า ครอบครัวนั้นจะมีรายจ่ายเป็นจํานวนมากน้อยเท่าใด

                        2. อายุของสมาชิกในครอบครัว จะมีอิทธิพลต่อการใช้จ่ายมาก กล่าวคือ ในครอบครัวที่มี

          บุตรหลาน อยในวัยรุ่นซึ่งกําลังเติบโต ย่อมจะมีรายจ่ายค่าอาหารมากกว่าครอบครัวที่มีลูกกําลังเล็กหรืออยู่ใน
          วัยทารก

                        3. รูปแบบและประเภทอาหารของแต่ละครอบครัวที่รับประทาน เช่น บางครอบครัวอาจ

          ชอบ รับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์ ไข่ นม เนย ซึ่งมีราคาแพงกว่าการรับประทานอาหารแบบไทย

                        4. ระดับราคาอาหารและการวางแผนในการซื้ออาหาร ในกรณีที่ทราบถึงระดับราคาสินค้าที่

          ต้องการจะซื้อในแต่ละครั้ง รวมถึงการวางแผนการซื้อไว้แล้วว่า ควรจะซื้อสินค้าใดบ้าง เป็นจํานวนเท่าใด ก็

          สามารถไปยังแหล่งที่ขายและเลือกซื้อสินค้า โดยมีงบประมาณเตรียมไว้พร้อม  เช่น ผัดผัก แกงต่างๆ เป็นต้น
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137