Page 18 - com
P. 18

ภาษาไทยเป นภาษาหนึ งที มีการยืมคํามาจากภาษาอื น ๆ ค่อนข้างสูงมาก มีทั งแบบยืมมาจาก
                ภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได ด้วยกันเอง และข้ามตระกูลภาษา โดยส่วนมากจะยืมมาจาก ภาษา

                บาลี   ​ภาษาสันสกฤต  และ ภาษาเขมร  ซึ งมีทั งรักษาคําเดิม ออกเสียงใหม่ สะกดใหม่ หรือเปลี ยน
                                                  ความหมายใหม่ อย่างใดอย่างหนึ งหรือหลายอย่างรวมกัน
                บางครั งเป นการยืมมาซ้อนคํา เกิดเป น คําซ้อน  คือ คําย่อยในคําหลัก มีความหมายเดียวกันทั ง
                                                        สอง เช่น

                   ● ดั งจมูก โดยมีคําว่าดั ง เป นคําในภาษาไท ส่วนจมูก เป นคําในภาษาเขมร
                   ● อิทธิฤทธิ  มาจาก อิทธิ (iddhi) ในภาษาบาลี ซ้อนกับคําว่า ฤทธิ (ṛddhi) ในภาษา
                       สันสกฤต โดยทั งสองคํามีความหมายเดียวกัน

                  คําจํานวนมากในภาษาไทย ไม่ใช้คําในกลุ่มภาษาไท แต่เป นคําที ยืมมาจากกลุ่มภาษาสันสกฤต-
                                                                              ปรากฤต โดยมีตัวอย่างดังนี
               รักษารูปเดิม หรือเปลี ยนแปลงเล็กน้อย
                   ● วชิระ (บาลี: วชิระ [vajira]), วัชระ (สันส: วัชร [vajra])
                   ● ศัพท์ (สันส: ศัพทะ [śabda]), สัท (เช่น สัทอักษร) (บาลี: สัททะ [sadda])
                   ● อัคนี และ อัคคี (สันส: อัคนิ [agni] บาลี: อัคคิ [aggi])
                   ● โลก (โลก) - (บาลี-สันส: โลกะ [loka])
                   ● ญาติ (ยาด) - (บาลี: ญาติ (ยา-ติ) [ñāti])
               เสียง พ มักแผลงมาจาก ว

                   ● เพียร (มาจาก พิริยะ และมาจาก วิริยะ อีกทีหนึ ง) (สันส:วีรยะ [vīrya], บาลี:วิริยะ
                       [viriya])
                   ● พฤกษา (สันส:วฤกษะ [vṛkṣa])
                   ● พัสดุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ) )
               เสียง -อระ เปลี ยนมาจาก -ะระ
                   ● หรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ) )
               เสียง ด มักแผลงมาจาก ต
                   ● หรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ) )
                   ● เทวดา (บาลี:เทวะตา [devatā])
                   ● วัสดุ และ วัตถุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ) )
                   ● กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กป ลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu]
                       (กป ลวัตถุ) )
               เสียง บ มักแผลงมาจาก ป

                   ● กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กป ลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu]
                       (กป ลวัตถุ) )
                   ● บุพเพ และ บูรพ (บาลี: [pubba] (ปุพพ) )


               6.1 ภาษาอังกฤษ
               ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีวิวัฒนาการต่างๆ ทางเทคโนโลยี
               มากมาย ซึ งทําให้มีการใช้ภาษาอังกฤษกันอย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ก็ได้มีการบัญญัติ
               ศัพท์จากภาษาอังกฤษเป นภาษาไทย เช่น
   13   14   15   16   17   18   19   20   21