Page 3 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 8
P. 3

ขาว Hot ประเด็นรอน   3



                                                              แบคทีเรียทำใหฟนผุ




                                                              ไมใชแมงกินฟน









            สถาบันทันตกรรม กรมการแพทย เผยฟนผุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ไมใชแมงกินฟนอยางที่เขาใจโดยเฉพาะเด็กที่ชอบกิน

        ของหวานหรือน้ำตาลและไมแปรงฟนใหสะอาด แนะแปรงฟนใหถูกวิธี หมั่นพบทันตแพทย เพื่อตรวจสุขภาพชองปากทุก 6-12 เดือน



                                นายแพทยสมศักดิ์  อรรฆศิลป
                                อธิบดีกรมการแพทย


                                     เปดเผยวา ปจจุบันสถานการณฟนผุของคนไทยคอนขางนาเปนหวง จากการสำรวจคุณภาพชองปาก
                                ของคนไทย พบวาเด็กอายุ 3 ขวบ ฟนน้ำนมยังขึ้นมาไมนานก็เริ่มผุ จากนั้นพอเริ่มโตขึ้นอายุไดประมาณ

                                5-6 ขวบ จะพบฟนผุไดมากขึ้น  สำหรับชวงวัยรุน จำนวนผูที่เปนโรคฟนผุจะลดนอยลงอาจเนื่องมาจาก
                                มีการใสใจไปพบหมอฟน ในขณะที่วัยทำงานไปจนถึงผูสูงอายุจะมีปญหาฟนผุเปนสวนใหญ ดังนั้น

                                การปองกันฟนผุมีความสำคัญเปนอยางมากโดยเฉพาะผูที่มีความเสี่ยงตอการเกิดฟนผุสูง เชน เด็กเล็ก

        ผูสูงอายุ โดยสามารถปองกันไดดวยวิธีดังนี้ หมั่นสังเกตฟนดวยตาเปลา เพื่อตรวจหาบริเวณที่ผิวฟนเปนรู ฟนที่มีการเปลี่ยนเปนสีดำ
        หรืออาจมีอาการปวดฟน รับประทานอาหารจำพวกแปงและน้ำตาลใหนอยลง เชน มันฝรั่งทอด ขนมขบเคี้ยว หลีกเลี่ยงขนมหวาน

        ที่เหนียวติดฟน เชน ทอฟฟ ผลไมอบแหง และรับประทานอาหารเฉพาะมื้อหลักไมรับประทานจุบจิบ

                                                                  ทันตแพทยบุญชู  สุรียพงษ

                                                  ผูอำนวยการสถาบันทันตกรรม กรมการแพทย


            กลาวเพิ่มเติมวา ฟนผุเกิดจากการมีเศษอาหารไปคางอยูตามซอกฟน หรือมีน้ำตาลจากอาหาร
        ที่อยูในปากและสัมผัสกับฟนอยูเปนเวลานาน จึงทำใหเชื้อแบคทีเรียที่อยูบนแผนคราบฟนเกิดกระบวนการ

        ยอยสลายเศษอาหารจำพวกแปง และน้ำตาลใหกลายเปนกรดแลคติกที่มีฤทธิ์ในการสลายแรธาตุ

        ซึ่งเปนโครงสรางของฟนจนทำใหฟนผุกรอนไปทีละนอยจากชั้นเคลือบฟนภายนอกเขาไปในเนื้อฟน
        จนทะลุถึงชั้นโพรงประสาทฟน ซึ่งจะทำใหเกิดอาการปวดฟน หรือฟนอักเสบเปนหนอง เปนกระบวนการ

        เริ่มตนของโรคฟนผุ ดังนั้นจึงควรรักษาสุขภาพชองปาก หมั่นพบทันตแพทยเพื่อตรวจสุขภาพชองปากและฟนเปนประจำทุก 6-12 เดือน
        เพื่อจะไดตรวจพบฟนผุตั้งแตในระยะแรก ๆ ที่ยังไมมีอาการและสามารถรักษาใหหายกอนที่โรคจะลุกลามมากขึ้น รวมไปถึง

        การตรวจชองปาก ขูดหินปูน และทำความสะอาดฟน ซึ่งจะชวยลดการเกิดโรคฟนผุ ชวยปองกันและยับยั้งปญหาในชองปาก

        และโรคฟนอื่น ๆ นอกจากนี้ควรแปรงฟนใหถูกวิธีอยางนอยวันละ 2 ครั้งในตอนเชาและกอนนอน หรือถาเปนไปไดควรแปรงทุกครั้ง
        หลังรับประทานอาหาร ซึ่งรวมถึงหลังอาหารมื้อเที่ยง และควรใชไหมขัดฟน เพื่อชวยทำความสะอาดซอกฟนที่ขนของแปรงสีฟน

        เขาไปไมถึงหรือหลังรับประทานอาหารทุกครั้งควรบวนปากในทันที





 สารกรมการแพทย                                                              ปที่ 1 ฉบับที่ 8 กรกฎาคม 2561  สารกรมการแพทย
   1   2   3   4   5   6   7   8