Page 12 - กรอบหลักสูตรนครรังสิต
P. 12

10                                                                                 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   11
                                                                                          “นครรังสิต“



              ๒

 รวมทั้งส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ทั้งการร่วมบริจาคทรัพย์สินและทรัพยากรอื่น

 แก่สถานศึกษาได้ตามความเหมาะสมและความจ�าเป็น  เพื่อให้การจัดการศึกษามีคุณภาพเกิดประสิทธิภาพ      ขั้นตอนการดำ เนินการจัดทำ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
 และสามารถจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่น  ดังนั้นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  (อปท.)  จึงมี

 ความคล่องตัว  และมีอิสระในการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ  คุณภาพและมาตรฐาน  รวมถึงองค์กรปกครอง      สถานศึกษาเป็นหน่วยงานระดับปฏิบัติการที่จะต้องน�ากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นที่ส�านักงานเขตพื้นที่
 ส่วนท้องถิ่น (อปท.) สามารถก�าหนดยุทธศาสตร์ส่งเสริมการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีมาตรการ  การศึกษาหรือหน่วยงานระดับท้องถิ่นเป็นผู้จัดท�าน�าไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม  เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับ

 ส่งเสริมศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดและสนับสนุนการจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย   ท้องถิ่นของตนเอง  เกิดความรัก  ความผูกพัน  และมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น  สถานศึกษาจึงต้องน�ากรอบสาระ
 มีคุณภาพและมาตรฐาน  พัฒนาครู  และบุคลากรทางการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความรู้คู่คุณธรรม    การเรียนรู้ท้องถิ่นมาจัดท�ารายละเอียดของเนื้อหา  องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับท้องถิ่นให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา

 มีทักษะ  และส่งเสริมศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน  ส่งผลให้สถานศึกษาในท้องถิ่นต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ   และสภาพชุมชนนั้น ๆ การจัดกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น “นครรังสิต” มีขั้นตอนการด�าเนินการจัดท�ากรอบหลักสูตร
 บริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน  มีขอบข่ายภาระงานที่ต้องปฏิบัติตามที่ก�าหนดในระเบียบ   ระดับท้องถิ่นดังนี้

 ว่าด้วยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีประเด็นที่ส�าคัญในการก�าหนดสาระ
 รายละเอียดของหลักสูตรระดับสถานศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ  สังคม  ศิลปวัฒนธรรม  ภูมิปัญญาของท้องถิ่น      ๑. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะท�างาน

 และแนวการจัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตร      ๒. วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑)  ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นโยบายของรัฐบาล ข้อมูลสารสนเทศของท้องถิ่น ข้อมูลจากหนังสือ “นครรังสิต

    การก�าหนดกรอบหลักสูตรท้องถิ่นและแนวการจัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน   ของเรำ” เป็นต้น

 ของสถานศึกษา เป็นประเด็นส�าคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา      ๓.  ด�าเนินการจัดท�ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ประกอบด้วย ๕ ส่วน ได้แก่ ส่วนน�า สาระการเรียนรู้
 ในสถานศึกษามีแนวทางในการด�าเนินงานในการจัดท�าหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน ตามความต้องการ  ท้องถิ่น  “นครรังสิต”  ตามกลุ่มสาระ  สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นตามสาระ  “นครรังสิต”  การประเมินคุณภาพ

 ของชุมชนท้องถิ่น  โดยมีการก�าหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและเกณฑ์ในการพัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น    ผู้เรียนระดับท้องถิ่น และการน�ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นสู่การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 และสามารถตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียนในระดับท้องถิ่น  เพื่อก�าหนดกรอบทิศทางในการจัดการเรียนการสอน      ๔. รับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เกี่ยวข้อง อาทิ ครูผู้สอน ผู้ปกครอง ปราชญ์ในชุมชน และ

 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถอันเป็นพื้นฐานจ�าเป็นในท้องถิ่นและโลกปัจจุบันกรอบเป้าหมาย  จุดเน้น   หน่วยงานธุรกิจ  ฯลฯ  เพื่อน�าข้อคิดเห็นจากฝ่ายต่างๆ  มาปรับปรุงกรอบหลักสูตรให้มีความเหมาะสมชัดเจน
 ที่ก�าหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นต้องมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา  ยิ่งขึ้น

 ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวของชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมในชีวิตจริงของตน
 ท�าให้เกิดความตระหนัก เห็นคุณค่า ส�านึกรักผูกพันกับท้องถิ่น มีความภาคภูมิใจในบรรพบุรุษ ถิ่นฐานบ้านเกิด      ๕. เสนอคณะกรรมการระดับท้องถิ่นเพื่อให้ความเห็นชอบ

 เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน  ตลอดจนสามารถแก้ปัญหา  พัฒนาชีวิต  อาชีพ  ครอบครัวและสังคมของตนเองได้ตามควร
 แก่ฐานะ และเป็นบุคคลที่มีความรอบรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นในแง่มุมต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ฯลฯ อย่างชัดเจน

 ในกระบวนการจัดท�าหรือพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท้องถิ่นให้บรรลุเป้าหมาย  ควรก�าหนดมาตรฐานการเรียนรู้
 และตัวชี้วัด ท�าให้การจัดท�าหลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น  อีกทั้งยังช่วยให้เกิด

 ความชัดเจน เรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา

    ดังนั้นการจัดกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น  “นครรังสิต”  ขึ้นเพื่อเป็นกรอบทิศทางให้สถานศึกษาได้น�าไป

 ประกอบการพิจารณาจัดท�าหรือเพิ่มเติมในส่วนที่จะสามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่น ภายใต้บริบทของ
 สถานศึกษาตามหลักการจัดการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ  สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศโดยรวม

 ยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ตลอดจนแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น ด้วยเหตุนี้
 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น “นครรังสิต” จึงถือเป็นการส่งเสริมการจัดการศึกษา  เพื่อท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง สามารถ

 น�าไปใช้เป็นแนวการจัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษาในเทศบาลนครรังสิตที่มี
 ประสิทธิภาพต่อไป
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17