Page 14 - กรอบหลักสูตรนครรังสิต
P. 14
12 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น 13
“นครรังสิต“
๓ แนวทางการนำ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
ขั้นตอนของการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
สู่การจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษา
แต่งตั้งคณะกรรมกำร
การก�าหนดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น เพื่อให้สถานศึกษาน�าไปใช้จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
ศึกษำข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับท้องถิ่นของตนเอง ทั้งในด้านความส�าคัญ ประวัติความเป็นมา สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพเศรษฐกิจ
สังคม การด�ารงชีวิต การประกอบอาชีพ ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญา ฯลฯ ตลอดจนสภาพปัญหาในชุมชน
และสังคมนั้นๆ อันจะท�าให้ผู้เรียนเกิดความรัก ความผูกพัน มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน ยินดีที่จะร่วมสืบสาน
ศึกษำวิเครำะห์ ศึกษำวิเครำะห์นโยบำย/ข้อมูล พัฒนาหรือแก้ไขปัญหาของท้องถิ่นนั้น มีแนวทางการด�าเนินงานที่ส�าคัญ ดังนี้
หลักสูตรแกนกลำงศึกษำพื้นฐำน สำรสนเทศของท้องถิ่น ๓.๑ การด�าเนินงานของส่วนกลาง กระทรวงศึกษาธิการ โดยส�านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
เป็นหน่วยงานในส่วนกลางมีภารกิจส�าคัญในการจัดและส่งเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีหน้าที่ในการจัดท�านโยบาย
และจัดท�าหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้ก�าหนดจุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด�ำเนินกำรจัดท�ำกรอบ พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา กองการศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะต้องน�าหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไปใช้จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้บรรลุตามจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
น�ำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เกี่ยวข้อง ที่ก�าหนดไว้
๓.๒ การด�าเนินงานระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
น�ำเสนอคณะกรรมกำรท้องถิ่น ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่ในการบริหาร
จัดการศึกษา และพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้ง
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นนครรังสิต มีหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการร่วมกับสถานศึกษา ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นควรจัดท�า “กรอบสำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น” ในระดับเขตพื้นที่หรือท้องถิ่น เพื่อให้
สถานศึกษาน�าไปจัดท�ารายละเอียดของเนื้อหาองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับท้องถิ่นให้เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
และน�าไปสู่การปฏิบัติจริง กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ
กำรน�ำกรอบ ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจะได้มีการทบทวนและปรับปรุงพัฒนาทุกระยะ ๓-๕ ปีหรือตามระยะเวลาที่
สำระกำรเรียนรู้ กำรประเมิน
ส่วนน�ำ ท้องถิ่นตำมกลุ่ม สำระกำรเรียนรู้ คุณภำพผู้เรียน หลักสูตรระดับ คณะกรรมการฯ เห็นสมควรเพื่อให้มีความทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมและสภาวะของสังคม วัฒนธรรม ที่มี
สำระ ท้องถิ่นตำมสำระ ระดับท้องถิ่น ท้องถิ่นสู่กำรพัฒนำ การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
หลักสูตร
๓.๓ การด�าเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาเป็นหน่วยงานระดับปฏิบัติการที่จะต้องน�ากรอบสาระ
การเรียนรู้ท้องถิ่นที่ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้จัดท�า
แผนภาพที่ ๑ แนวทางการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น น�าไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม สถานศึกษาสามารถด�าเนินการได้ ๓ ประการ ดังนี้ ๑) การน�าเป้าหมายและจุดเน้น
ไปใช้ในการก�าหนดวิสัยทัศน์ ๒) การน�าสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นไปใช้ในจัดท�าหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ ๓) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้