Page 12 - ชุดการสอนศาสนา
P. 12
12
ใบควำมรู้หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 เรื่องหลักธรรม
อิทธิบำท 4
อิทธิบาท 4 คือ คุณธรรมที่น าไปสู่ความส าเร็จ มี 4 ประการ ดังนี้
1) ฉันทะ คือ ความมีใจรักที่จะท าในสิ่งที่ก าลังตั้งใจท า
2) วริิยะ คือ ความพยายามเขม้แขง็ และอดทนที่จะทาิ
3) จิตตะ คือ ความตั้งใจแน่วแน่ที่จะท า ไม่ลังเล ไม่ฟุ้งซ่าน
4) วิมังสา คือ ความคิดไตร่ตรอง วางแผนตามเหตุผล มีการปรับปรุง
พละ 5
พละ 5 คือ หลักธรรมที่ช่วยให้ท างานส าเร็จลุล่วงได้ มี 5 ประการ ดังนี้
1) สัทธา คือ มีความเชื่อมั่นในสิ่งที่ตนก าลังท า
2) วริิยะ คือ มีความเพียร
3) สติ คือ มีความระลึกได้ ไม่ประมาท
4) สมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่น
5) ปัญญา คือ มีความรู้ชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องที่กระท า
กุลจิรัฏฐิติธรรม 4
กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 คือ หลักธรรมเพื่อพัฒนาให้สกุลยั่งยืน มี 4 ประการ ดังนี้
1) ของหมดใหร้ิิจกัหามาไว้
2) ของเก่ารู้จักบูรณะซ่อมแซม
3) รู้จักประมาณการกินการใช้
4) ตั้งผู้มีศีลธรรมเป็นพ่อบ้านแม่เรือน
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ เป็นหลักค าสอนที่ส าคัญที่สุดของพระพุทธศาสนา เพราะ
เป็นค าสอนที่จะช่วยให้บุคคลรอดพ้นจากความทุกข์เพื่อสู่นิพพาน ได้แก่
1. ทุกข์ หมายถึง สภาพที่ทนได้ยากทั้งร่างกายและจิตใจ
1.1 สภาวทุกข์ หรือ ทุกข์ประจ า ได้แก่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย
1.2 ปกิณกทุกข์ หรือทุกข์จร เป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นภายหลัง เกิดขึ้นแล้วก็ผ่านไปและเกิดขึ้น
เนืองๆ เช่น ความเศร้าโศก ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ
2. สมุทัย หมายถึง เหตุที่ท าให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา( ความอยาก)
2.1 กามตัณหา คือ อยากในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่ตนยังไม่มี
2.2 ภวตัณหา คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นานๆ
2.3 วิภวตัณหา คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากให้สภาพที่ตนปรารถนาอยู่นานๆ
3. นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข์ คือ ให้ดับที่เหตุ ซึ่งมีขั้นตอนตามล าดับในมรรค 8
4. มรรคมีองค์ 8 หนทางแห่งการดับทุกข์
4.1 สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ คือ มีความเข้าใจว่าอะไรคือทุกข์ อะไรคือสาเหตุแห่งทุกข์
อะไรคือความดับทุกข์