Page 100 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 100

๙๓



                 á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºÑμÔ§Ò¹¢Í§à¨ŒÒ˹ŒÒ·ÕèตําÃǨμÒÁËÅÑ¡ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹

                            เจาหนาที่ตํารวจมีหนาที่หลักในการรักษาความสงบเรียบรอยใหสังคม และปองกัน
                 และปราบปรามการกระทําความผิดในทางอาญา ซึ่งมีเครื่องมือที่ใชในการปฏิบัติหนาที่ ไดแก กฎหมาย

                 ที่ใหอํานาจเจาหนาที่ตํารวจในการกระทําที่สงผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพในชีวิตรางกาย ดังนั้น
                 การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามอํานาจตางๆ จะตองมีแนวทางในการดําเนินการ เพื่อให

                 เปนไปตามหลักสิทธิมนุษยชนที่บุคคลไดรับการคุมครอง ดังนี้
                            ñ. ¡ÒèѺ

                                 ËÅÑ¡¡ÒÃ
                                 การจับนั้นโดยปกติแลวกฎหมายใหอํานาจแกพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ

                 เปนผูมีอํานาจในการจับ โดยเจาพนักงานดังกลาวจะทําการจับไดตองมีหมายจับหรือมีกฎหมาย
                 ใหอํานาจทําการจับได แมจะไมมีหมายจับซึ่งเปนหลักที่เปนไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง

                 ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ มาตรา ๒๘ วรรคสอง ที่บัญญัติไววา การจับและการคุมขังบุคคล
                 จะกระทํามิได เวนแตมีคําสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอยางอื่่นตามที่กฎหมายบัญญัติ การจับมี

                 ๒ กรณีดวยกัน คือ การจับโดยมีหมายจับและการจับโดยไมมีหมายจับ

                                 á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºÑμÔ
                                 ¡ÒèѺâ´ÂäÁ‹ÁÕËÁÒ¨Ѻ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๘
                                 (๑)  มีการกระทําความผิดซึ่งหนา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

                 มาตรา ๘๐

                                 (๒)  การกระทําความผิดซึ่งหนา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
                 มาตรา ๘๐ นี้หมายถึงความผิดซึ่งเห็นกําลังกระทํา หรือเปนการพบในอาการใดซึ่งแทบจะไมตองสงสัย

                 เลยวาเขาไดกระทําผิดมาแลวสดๆ หรืออาจกลาวไดวา เปนการกระทําผิดที่เจาพนักงานนั้นไดเห็น
                 กับตาตนเองไมใชเปนการบอกเลาที่มาจากคนอื่นอีกทอดหนึ่ง

                                 (๓)  กรณีที่จะวินิจฉัยวาเปนความผิดซึ่งหนา เชน การทะเลาะวิวาท ซึ่งไดยุติลง
                 ไปกอนหนานี้แลว ไมใชการกระทําความผิดซึ่งหนา เจาพนักงานตํารวจซึ่งมาภายหลังเกิดเหตุ ไมมี

                 อํานาจจับโดยไมมีหมายจับ กรณีตัวอยางของ จาสิบตํารวจ ส. และรอยตํารวจเอก ป. จับจําเลยได
                 ในขณะที่จําเลยกําลังขายวัตถุออกฤทธิ์ใหกับจาสิบตํารวจ ส. ผูลอซื้อกรณีเชนนี้ถือวาเปนความผิดซึ่งหนา

                 (วิเชียร ดิเรกอุดมศักดิ์, ๒๕๕๔ โปรดดูแนวคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๔๖๑/๒๕๔๐)
                                 (๔)  นอกจากนั้น คําวาซึ่งหนายังหมายรวมถึงความผิดอาญาดังระบุไวในบัญชี

                 ทายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา คือ ใหถือวาความผิดนั้นเปนความผิดซึ่งหนาในกรณี
                 ดังตอไปนี้

                                     (๔.๑)  เมื่อบุคคลหนึ่งถูกไลจับ ดังผูกระทําโดยมีเสียงรองเอะอะ
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105