Page 21 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 21

๑๒




                            ๑.๑  ความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุเปนสิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึงกอน
              เปนอันดับแรกกอนเขาไปใหการชวยเหลือ

                             ๑.๒  สํารวจระบบสําคัญของรางกายดวยสายตาอยางรวดเร็ว และวางแผนใหการ
              ชวยเหลืออยางมีสติ ไมตื่นเตนตกใจ หามเคลื่อนยาย เมื่อมีการบาดเจ็บของอวัยวะตางๆ ซึ่งผูใหการ

              ชวยเหลืออาจมองไมเห็น ถาทําการเคลื่อนยายทันทีหรือไมถูกวิธี อาจทําใหเกิดการบาดเจ็บมากขึ้น
              โดยเฉพาะกระดูกสันหลังหัก อาจทําใหผูบาดเจ็บหรือพิการไปตลอดชีวิต

                                   แตมีขอยกเวนกรณีการบาดเจ็บเกิดขึ้นในสถานที่ที่ไมปลอดภัย อาจเกิด
              อันตรายมากขึ้นทั้งผูบาดเจ็บและผูชวยเหลือ หรือไมสะดวกตอการปฐมพยาบาล จําเปนตองเคลื่อนยาย

              ผูบาดเจ็บไปอยูในที่ปลอดภัยกอน จึงใหทําการชวยเหลือได เชน ผูบาดเจ็บอยูในนํ้า อยูในกองไฟ
              หรือกลางถนน เปนตน

                             ๑.๓  ชวยเหลือดวยความนุมนวล และระมัดระวัง โดยใหการชวยเหลือตามลําดับ
              ความสําคัญของการมีชีวิต หรือตามความรุนแรงที่ไดรับบาดเจ็บ

                             ๑.๔  บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ อาการ ลักษณะของผูบาดเจ็บเกี่ยวกับ

              การปฐมพยาบาลที่ไดทําการชวยเหลือ พรอมทั้งนําบันทึกดังกลาวติดตัวไปกับผูบาดเจ็บเสมอ
              เพื่อประโยชนในการรักษาตอไป
                          ò. ¼ÙŒºÒ´à¨çº  หรือผูเคราะหรายจากเหตุการณตางๆ โดยสาเหตุที่จะทําใหผูปวยเจ็บ

              เสียชีวิตไดอยางรวดเร็ว หากไมไดรับการปฐมพยาบาลทันที ไดแก

                             ๒.๑  การหยุดหายใจ
                                   ทําใหรางกายขาดออกซิเจน และจะเสียชีวิตภายในไมกี่นาที ผูปฐมพยาบาล

              จึงตองรูวิธีการผายปอด ซึ่งวิธีที่งายและไดผลดีที่สุด คือ การเปาลมหายใจเขาปอดทางปากหรือจมูก
                             ๒.๒  หัวใจหยุดเตน

                                   ทําใหไมมีการสูบฉีดเลือด  สําหรับนําออกซิเจนไปเลี้ยงรางกายทั่วไป
              ผูปฐมพยาบาลจําเปนจะตองรูวิธีสําหรับแกไขทําใหมีกระแสเลือดไหลเวียนในรางกาย คือ การนวด

              หัวใจภายนอก
                             ๒.๓  การเสียเลือดจากหลอดเลือดใหญขาด

                                   ทําใหเลือดไหลออกจากรางกายอยางรวดเร็ว  และจะทําใหเสียชีวิต
              ผูปฐมพยาบาลจึงตองรูวิธีการหามเลือด

                             ๒.๔  ภาวะช็อก
                                   เปนการตอบสนองของศูนยประสาทสวนกลางในสมองของรางกายที่ถูกกระตุน

              ดวยความรูสึกที่สงมาจากตําแหนงที่บาดเจ็บ อาจมีความกลัวและความตกใจรวมดวย ภาวะช็อกจะมี
              ความรุนแรงมาก ถามีการสูญเสียเลือดหรือนํ้าเหลือง (ในรายมีแผลไหม) การช็อกอาจทําใหเสียชีวิตได

              ทั้งที่บาดเจ็บไมรุนแรงนัก ดังนั้นผูปฐมพยาบาลจึงตองรูวิธีการปองกันและรักษาอาการช็อก
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26