Page 24 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 24

๑๕





















                                     Painful stimulus : ผูบาดเจ็บ ตอบสนองตอความเจ็บปวด

                                         ที่มา : www.nmd.go.thdocumentpdfebook2ebook.pdf



                             วิธีกระตุนใหผูบาดเจ็บตอบสนองตอความเจ็บปวด มีอยู ๒ ลักษณะ ดังนี้
                             ๑.  การตอบสนองตอความเจ็บปวดของระบบสวนกลาง (Central painful stimulus)

                 มีวิธีกระตุน ดังนี้

                                 • การกดบริเวณกระดูกเหนือเบาตา (supraorbital pressure)
                                 • การนวดบริเวณกระดูกหนาอก (sterna rub)
                                 • การหยิกบริเวณรักแร (armpit pinch)

                             ๒.  การกระตุนตอความเจ็บปวดของระบบสวนปลาย (Peripheral painful stimulus)

                 โดยใชวิธีการกระตุน ดวยการใชของแข็ง เชน ดามปากกากดบริเวณ โคนเล็บ (nail bed pressure)
                 ในระหวางการกระตุนผูบาดเจ็บดวยวิธีที่กลาวมา ผูบาดเจ็บจะมีปฏิกิริยา เชน ใชมือปด หรือขยับหนี

                 หรืออาจแสดงลักษณะ เชน การเกร็งตัวงอแขน (decorticate) หรือตัวเกร็งเหยียดแขน (decerebrate)
                 บงชี้ถึง ผูบาดเจ็บอาจมีอาการผิดปกติทางสมอง ตามมา








                                                    Flexion (decorticate) posturing










                                                   Extontion (decorticate) posturing

                  ภาพแสดง ลักษณะการแสดงถึงการเกร็งตัวงอแขน และตัวเกร็งเหยียดแขน เมื่อกระตุนดวยความเจ็บปวด

                                         ที่มา : www.nmd.go.thdocumentpdfebook2ebook.pdf
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29