Page 29 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 29
๒๐
ตําแหนงชีพจรที่ขาหนีบ ตําแหนงชีพจรที่หลังเทา ตําแหนงชีพจรที่ขอเทาดานใน
áÊ´§μ Óá˹‹§¡ÒèѺªÕ¾¨Ã
ที่มา : สํานักงานตํารวจแหงชาติ
หามใชนิ้วหัวแมมือในการจับชีพจร เนื่องจากนิ้วหัวแมมือมีหลอดเลือดฝอย
ซึ่งอาจทําใหเจาหนาที่สับสนระหวางชีพจรของเจาหนาที่กับชีพจรของผูบาดเจ็บ
ó. ¡ÒÃËÒÂ㨠(Respiration)
เปนการนําเอาออกซิเจนเขาสูรางกายและนําคารบอนไดออกไซดออกจากรางกาย
๓.๑ สิ่งที่ตองสังเกตในการหายใจ มีดังนี้
(ñ) ÍÑμÃÒ¡ÒÃËÒÂ㨠มีหนวยเปนครั้ง/นาที โดยการหายใจเขาและออก
นับเปน ๑ ครั้ง อัตราการหายใจปกติ มีดังนี้
• ทารกแรกเกิด อัตราการหายใจประมาณ ๓๕ – ๔๐ ครั้ง/นาที
• เด็ก อัตราการหายใจประมาณ ๒๐ – ๓๐ ครั้ง/นาที
• ผูใหญ อัตราการหายใจประมาณ ๑๖ – ๒๐ ครั้ง/นาที
(ò) ÅѡɳТͧ¡ÒÃËÒÂ㨠สามารถสังเกตไดจากการเคลื่อนไหวของหนาอก
หนาทอง โดยปกติลักษณะการหายใจจะมีจังหวะการหายใจเขาและหายใจออกสมํ่าเสมอไมตองใชแรง
ไมมีเสียง และไมเจ็บปวด หากผูบาดเจ็บมีลักษณะการหายใจที่ตางไปจากนี้แสดงวามีความผิดปกติ
ô. ¤ÇÒÁ´Ñ¹âÅËÔμ (Blood pressure/ BP) เปนแรงดันเลือดขณะที่หัวใจบีบตัว
และคลายตัว ไดแก
(๑) คาความดันสูงสุด (Systolic pressure) เปนคาความดันตัวบน เกิดจากแรงดัน
เลือดขณะที่หัวใจบีบตัว ซึ่งมีคาปกติประมาณ ๙๐ - ๑๔๐ มิลลิเมตรปรอท (mmHg)
(๒) คาความดันตํ่าสุด (Diastolic pressure) เปนคาความดันตัวลาง เกิดจาก
แรงดันเลือดขณะที่หัวใจคลายตัว ซึ่งมีคาปกติประมาณ ๖๐–๙๐ มิลลิเมตรปรอท (mmHg)
๔.๑ ภาวะความดันโลหิตผิดปกติ
• ความดันโลหิตสูง (Hypertension) : ความดันสูงกวาปกติวัดได
๑๔๐/๙๐ mmHg