Page 30 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 30

๒๑




                                              อาการ ของภาวะความดันโลหิตสูง ไดแก ปวดศีรษะบริเวณทายทอย
                 ตาพรา หรือมองไมเห็น คลื่นไส อาเจียน ชักและหมดสติในที่สุด

                                           • ความดันโลหิตตํ่า (Hypotension) : ความดันลดตํ่าลงกวาปกติวัดได
                 นอยกวา ๙๐/๖๐ mmHg

                                              อาการ ของภาวะความดันโลหิตตํ่า ไดแก ออนเพลีย ไมมีแรง
                 เหนื่อยงายกวาปกติ หนาซีด เหงื่อออก ตัวเย็น เปนลมหมดสติ


















                               áÊ´§¡ÒÃÇÑ´¤ÇÒÁ´Ñ¹âÅËÔμâ´ÂãªŒÍØ»¡Ã³áÅСÒÃÇÑ´¤ÇÒÁ´Ñ¹âÅËÔμâ´ÂäÁ‹ÁÕÍØ»¡Ã³
                                                  ที่มา : สํานักงานตํารวจแหงชาติ


                                     ๔.๒  การวัดความดันโลหิต ในสถานการณที่ไมมีเครื่องวัดความดันโลหิต

                 จะสามารถประเมินความดันโลหิตของผูบาดเจ็บจากการจับชีพจร  โดยมีคาประมาณของความดันโลหิต
                 ตัวบน (Systolic)  ดังนี้

                                           (๑)  หากจับชีพจรพบที่หลังเทาหรือขอเทาดานใน แสดงวา ผูบาดเจ็บมี
                 ความดันโลหิตตัวบน (Systolic) มากกวา ๙๐  mmHg

                                           (๒)  หากจับชีพจรพบที่ขอมือ แสดงวา ผูบาดเจ็บมีความดันโลหิตมากกวา
                 ๘๐ mmHg แตนอยกวา ๙๐ mmHg

                                           (๓)  หากจับชีพจรพบตนแขนดานในหรือที่ขาหนีบ แสดงวา ผูบาดเจ็บมี
                 ความดันโลหิตมากกวา ๗๐ mmHg แตนอยกวา ๘๐ mmHg

                                           (๔)  หากจับชีพจรพบที่ตนคอ แสดงวา ผูบาดเจ็บมีความดันโลหิตมากกวา
                 ๖๐ mmHg แตนอยกวา ๗๐  mmHg


                  หากผูบาดเจ็บมีความดันโลหิตตัวบน (Systolic) นอยกวา ๖๐ mmHg (จับชีพจรพบที่ตนคอ
                  เทานั้น) แสดงวาเริ่มเขาสูภาวะช็อกซึ่งจะทําใหมีโอกาสเสียชีวิตมากยิ่งขึ้น ผูชวยเหลือตองให

                  การปฐมพยาบาลและรีบนําสงบุคลากรทางการแพทยโดยเร็วที่สุด ระหวางนําสงตองประเมินสัญญาณชีพ
                  ทุก ๕ นาที  รักษาความอบอุนรางกายของผูบาดเจ็บ และชวยลดการเสียเลือดออกจากรางกาย

                  ของผูบาดเจ็บใหได
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35