Page 28 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 28
๑๙
- สําหรับการปฏิบัติงานทางยุทธวิธี จะวัดอุณหภูมิโดยใชการสัมผัสตัวผูบาดเจ็บ
เพื่อประเมินอุณหภูมิรางกายเบื้องตนวามีความผิดปกติของอุณหภูมิรางกายอยางไร
ò. ªÕ¾¨ÃËÃ×ÍÍÑμÃÒ¡ÒÃàμŒ¹¢Í§ËÑÇ㨠(Pulse)
เปนการหดและขยายตัวของหลอดเลือดแดงเปนจังหวะ ในการสูบฉีดเลือดไปหลอเลี้ยง
รางกายสงผลใหสามารถจับชีพจรไดตลอดเวลา
๒.๑ อัตราการเตนของชีพจรปกติ ดังนี้
(๑) ทารกแรกเกิด ถึง ๑ เดือน อัตราการเตนของชีพจรประมาณ
๑๒๐ - ๑๖๐ ครั้ง/นาที
(๒) เด็กอายุ ๑ -๑๒ ป อัตราการเตนของชีพจรประมาณ
๘๐ - ๑๒๐ ครั้ง/นาที
(๓) วัยรุน - วัยผูใหญ อัตราการเตนของชีพจรประมาณ
๖๐ - ๑๐๐ ครั้ง/นาที
๒.๒ ตําแหนงการจับชีพจร
(๑) ดานขางของคอ คลําไดชัดเจนจุดบริเวณมุมขากรรไกรลาง
(๒) ดานในของตนแขน
(๓) ขอมือดานในบริเวณกระดูกปลายแขนดานนอกหรือดานหัวแมมือ
เปนตําแหนงที่นิยมจับชีพจรมากที่สุด เพราะเปนที่ที่จับไดงายและไมรบกวนผูปวย
(๔) บริเวณขาหนีบ
(๕) บริเวณหลังปุมกระดูกขอเทาดานในและบริเวณหลังเทาใหดูตามแนวกลาง
ตั้งแตหัวเขาลงไป ชีพจรที่จับไดจะอยูกลางหลังเทาระหวางนิ้วหัวแมเทากับนิ้วชี้
๒.๓ วิธีปฏิบัติในการจับชีพจร
วางนิ้วชี้ และนิ้วกลาง ลงบนตําแหนงตามขอ ๒.๒ โดยนับจํานวนครั้งของการเตนใน
๑ นาที เพื่อประเมินอาการของผูบาดเจ็บ
ตําแหนงชีพจรที่คอ ตําแหนงชีพจรที่ทองแขนดานใน ตําแหนงชีพจรที่ขอมือ
ที่มา : สํานักงานตํารวจแหงชาติ