Page 34 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 34

๒๕


                                                       º··Õè ó



                                   ¡Òû°Á¾ÂÒºÒźҴá¼ÅáÅСÒÃËŒÒÁàÅ×Í´


                 ¨Ø´»ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

                             ๑.  ผูเรียนสามารถจําแนกชนิดของบาดแผลและทําการปฐมพยาบาลบาดแผลได

                             ๒.  ผูเรียนสามารถอธิบายลักษณะการเสียเลือดภายนอกและการเสียเลือดภายในได
                             ๓.  ผูเรียนสามารถทําการหามเลือดใหแกผูบาดเจ็บที่มีการเสียเลือดไดอยางถูกวิธี
                             อุบัติเหตุเกิดขึ้นไดเสมอ อาจเปนเพราะความประมาทของตนเองและผูอื่น หรือ

                 เปนเหตุสุดวิสัย สิ่งที่ตามมาเมื่อเกิดอุบัติเหตุคือบาดแผล การปฐมพยาบาลบาดแผลอยางถูกตอง
                 จะชวยปองกันอันตรายและลดอาการแทรกซอนที่อาจเกิดขึ้นได การเกิดบาดแผลแมเห็นภายนอก
                 เพียงเล็กนอย แตอาจเปนสาเหตุใหอวัยวะภายในบาดเจ็บรุนแรงจนเปนสาเหตุใหเกิดการเสียเลือดมาก

                 ช็อก หัวใจหยุดเตน สมองบาดเจ็บ รวมทั้งเสนประสาทถูกทําลาย และหากบาดแผลนั้นเกิดจากการ
                 กระทําของผูอื่น จนเปนเหตุใหถึงกับเสียชีวิต บาดแผลจะกลายเปนหลักฐานในการชี้ชัดถึงสาเหตุ
                 การตาย และเปนหลักฐานสําคัญในการมัดตัวผูกระทําความผิดในคดีฆาตกรรมได

                             ºÒ´á¼Å เกิดจากการฉีกขาดของเนื้อเยื่อและอวัยวะทั้งภายนอกและภายในรางกาย
                 ซึ่งอาจเกิดจากการไดรับแรงกระแทกจากของแข็ง (Mechanical Forces) หรืออาจเกิดจากของมีคม
                 จนทําใหเกิดรอยแยกของผิวหนังหรือเนื้อเยื่อชั้นใน จนอาจทําใหเปนอันตรายถึงเสียชีวิตได ดังนั้น

                 การปฐมพยาบาลบาดแผลอยางถูกตอง  จะชวยปองกันอันตราย  และลดอาการแทรกซอน
                 ที่จะเกิดขึ้นได โดยควรปฏิบัติดังนี้


                 ª¹Ô´¢Í§ºÒ´á¼Å

                             ñ. ºÒ´á¼Å»´
                                 เปนบาดแผลที่ไมมีรอยแยกของผิวหนังปรากฏใหเห็น เกิดจากแรงกระแทกของของแข็ง

                 ที่ไมมีคม แตอาจมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อและเสนเลือดฝอยใตผิวหนัง ซึ่งมองจากภายนอกจะเห็น
                 เปนลักษณะฟกชํ้า โดยอาจมีอาการปวดรวมดวย แผลประเภทนี้ที่พบเห็นไดบอยในชีวิตประจําวันคือ
                 รอยฟกชํ้าเปนจํ้าเลือด ซึ่งเกิดจากแรงกระแทกของวัตถุไมมีคม หรือสิ่งของตกหลนใสบริเวณรางกาย

                 เชน ศีรษะ แขน ขา แตทําใหหลอดเลือดฝอยใตผิวหนังฉีกขาด มีเลือดซึมอยูในเนื้อเยื่อ การฟกชํ้า
                 ที่รุนแรงอาจบอกถึงอาการบาดเจ็บที่รุนแรงได เชน กระดูกแตกหรือหัก
                              ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ

                               (๑)  ยกและประคองสวนที่บาดเจ็บใหอยู
                                     ในทาสบาย
                               (๒) ประคบเย็นและรัดสวนที่ฟกชํ้า

                               (๓) ถามีขอเคล็ดหรือกระดูกแตกหรือหัก
                                 ใหรีบสงแพทย
                                                                                       ที่มา : เรืองศักดิ์  ศิริผล
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39