Page 6 - Microsoft Word - ๕ล๋มชี๋-1-ๆฎวชาà¸⁄ฆารà¸flำ๕ฎิฎà¸⁄à¸²à¸Žà¸«à¸¥à¸±à¸†à¸ªà¸¹à¸Łà¸£à¸†à¸²à¸£à¸£à¸¹à¹›à¸«à¸Žà¸±à¸⁄à¸ªà¸·à¸Łà¹—à¸Šà¸¢ งึ๛ฎ๕วà¹⁄à¸ı
P. 6
2
แนวทางการจัดการศึกษาหลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช โดยมอบหมายให้หน่วยงาน
ในสังกัดและเครือข่ายนําไปดําเนินการส่งเสริมการรู้หนังสือตามสภาพ และบริบทของแต่ละชุมชน โดย
สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและสื อการเรียนรู้ที หลากหลายตามสภาพการเรียนรู้ภายใต้หลักสูตรการรู้
หนังสือไทย พุทธศักราช เพื อการดําเนินงานการจัดการศึกษาสําหรับกลุ่มเป้าหมายผู้ไม่รู้
หนังสือ ผู้ลืมหนังสือไทย และประชาชนทั วไปที สนใจจะเรียนรู้ภาษาไทยได้มีแนวทางดําเนินงานเป็น
มาตรฐานเดียวกัน โดยสถานศึกษาและหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน และสังคม นําไปพัฒนาสภาพ
การเรียนรู้เฉพาะสถานศึกษา ทั งนี สถานศึกษาต้องดําเนินการอนุมัติ จัดทําหลักสูตรสถานศึกษาต่อไป
หลักการ
1. เป็นการจัดการศึกษาตามหลักการการเรียนรู้หนังสือแบบเบ็ดเสร็จ (Functional Literacy) ที
เน้นการเรียนรู้หนังสือไทย และการคิดคํานวณเบื องต้นที บูรณาการกับสภาพ ความต้องการ และปัญหา
ของสังคมที สอดคล้องกับวิถีการดําเนินชีวิตของผู้เรียน
. มีความยืดหยุ่นทั งเนื อหา เวลาเรียน วิธีเรียน สื อ แหล่งการเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล
โดยเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที แตกต่างกันเป็นรายบุคคล
. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้นําความรู้และประสบการณ์มาแลกเปลี ยนเรียนรู้ตามปรัชญาคิดเป็น
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครอบครัว ชุมชน และสังคม เป็นสําคัญ
จุดหมาย
ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย และการคิดคํานวณ
เบื องต้นในเรื องที เกี ยวข้องกับชีวิตประจําวัน และใช้เป็นเครื องมือในการสื อสารกับผู้อื น ตลอดจน
แสวงหาความรู้เพื อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่
. ประชาชนชาวไทยที ไม่รู้หนังสือไทย
. ประชาชนไทยที ลืมหนังสือไทย
. ประชาชนชาวไทยกลุ่มเป้าหมายเฉพาะบางกลุ่มที ไม่ใช้ภาษาไทยในชีวิตประจําวัน
4. ประชาชนทั วไปที สนใจจะเรียนรู้ภาษาไทย