Page 11 - วารสารน้ำก๊อก
P. 11
รอบรั้วทั่วไทย
ว่�ด้วยง�นบุญ ง�นมงคลก็มักเจอ
“เจ้�ทองหยอด”
ทองหยอดยังเป็นขนม 1 ใน 9 ของขนมมงคล
ำ
ึ
ื
ก็ด้วยช่อ “ทองหยอด” มีคาข้นต้นด้วย “ทอง”
่
มีความหมายเป็นมงคล หมายถึง ความรำารวยและ
ำ
ทรัพย์สินเงินทอง โดยส่วนใหญ่คนไทยมักนิยมนามา
ประกอบในงานพิธีมงคล หรือมอบเป็นของขวัญใน
่
โอกาสสาคัญ และแทนคาอวยพรให้รารวยมีเงินมีทอง
ำ
ำ
ำ
ใช้จ่ายอย่างไม่รู้หมดสิ้นประดุจให้ทองคำาแก่กัน
แท้จริง “ทองหยอด” เป็นลูกครึ่ง!!!
ี
็
ุ
่
ั
ำ
ในสมยกอนขนมไทยในยคแรกๆ เปนเพยงการนา
้
ำ
ำ
ข้าวไปตาหรือโม่ให้ได้แป้ง และนาไปผสมกับนาตาล
ำ
ำ
ื
หรือมะพร้าว เพ่อทาเป็นขนมเท่าน้นเอง แต่ในช่วง
ั
สมัยอยุธยาได้มีความสัมพันธ์ติดต่อค้าขายกับต่างชาต ิ
หลายหลากประเทศ อาทิ จีน ญี่ปุ่น โปรตุเกส ฮอลันดา
ั
่
ี
อังกฤษ ฝร่งเศส จึงมีการแลกเปลยนทงทางด้านสนคา
้
ั
ิ
้
ึ
และวัฒนธรรมมากข้น โดยเฉพาะการได้รับอิทธิพล
เกี่ยวกับอาหารและขนม
และในยุคน้นผ้ได้รับการขนานนามว่าเป็น “ราชิน ี
ั
ู
้
ี
ุ
ี
้
ขนมไทย” ตองยกให “ ทาวทองกบมา” สตรชาวโปรตเกส
้
้
ำ
ี
ี
ท่มีความเช่ยวชาญในการทาขนมหวานได้ประดิษฐ ์
คิดค้นพัฒนาจากขนมโปรตุเกสท่มักจะใช้ส่วนผสม
ี
ิ
หลักเป็นไข มาดัดแปลงนาเอาวัตถุดิบในท้องถ่นของไทย
่
ำ
มาผสมผสานกลายเป็นขนมประเภทต่างๆ อาท ฝอยทอง
ิ
ี
ิ
ี
ู
ทองหยบ ทองหยอด ฯลฯ ทมรสชาติอร่อยถกปาก
่
มากมาย และช่วงเข้ารับราชการเป็นหัวหน้าห้องเครื่องต้น
ุ
้
ั
ำ
ในพระราชวังไดถ่ายทอดตารบการปรงขนมหวานแบบ
ต่างๆ ให้แก่สตรีทางานภายในเรือน แต่หลังจากน้น
ั
ำ
ี
เหล่าสตรีดังกล่าวท้งหลายเม่อไรก็ตามท่กลบบ้านเกิด
ั
ั
ื
ี
ำ
ำ
ต่างก็ไปเผยแพร่การทาขนมให้พ่อแม่ญาติพ่น้อง ทาให ้
ำ
ู
ตารับขนมหวานจากเคยอย่ในพระราชวังได้แผ่ขยาย
ู
ึ
่
ื
้
้
ออกสชนบทมากขนเรอยๆ จนกลายเปนขนมพนบ้าน
็
่
ื
ของคนไทยในปัจจุบัน
วารสารน้ำาก๊อก เดือนกรกฏาคม-สิงหาคม 9