Page 12 - Prawet
P. 12

13







                       กกกกกกกกกกก4.  มัสยิดที่สําคัญในเขตประเวศ
                       มัสยิดยามิอุลอีบาดะหมัสยิดซะหรอตุลอิสลาม และมัสยิดเราะห-มาตุลอิสลามแมมีความแตกตางกัน
                       ในลักษณะภายนอก แตตางเปนมัสยิดที่มีความสําคัญในการกอสรางที่ใชสถาปตยกรรมที่หลากหลาย
                       สรางขึ้นสัมพันธกับชุมชนและวิถีชีวิตของคนมุสลิม และมีความเปนมาที่นาสนใจ การเสียสละ และ

                       ความสามัคคี การเดินทางไปมัสยิดมิอุลอีบาดะห โดยรถประจําทางสาย1013 11และ 92 ลงซอยออน
                       นุช 59 แลวตอรถมอเตอรไซดรับจางการเดินทางไปมัสยิดเราะหมาตุลอิสลามรถประจําทางสาย133
                       1452071013 11 และ 206 ลงปายรถรถประจําทางสี่แยกตลาดเอี่ยม ตอรถสองแถว หรือรถมอเตอร
                       ไซตรับจาง การเดินทางไปมัสยิดซะหรอตุลอิสลาม รถเมลสาย133  สาย  145 สาย 207สาย 1013

                       สาย 11ลงปายรถเมลแยกตาดเอี่ยม ตอรถสองแถว หรือ รถเตอรไซตรับจางมัสยิดเปนเหมือนที่พํานัก
                       ของพระเจาในศาสนาอิสลาม จึงมีความสําคัญแนบแนนกับวิถีศรัทธาอันเครงครัดของศาสนาอิสลาม
                       จึงกลาวไดวา เกือบทุกกิจกรรมของชีวิตลวนตองเกี่ยวของผูกพันกับมัสยิดทั้งสิ้นศาสนาอิสลามในเขต
                       ประเวศ มีพิธีกรรมซึ่งอางอิงอยูกับพระผูเปนเจา แมจะมีความแตกตางกันในรายละเอียดปลีกยอย

                       ตามบริบท แตโดยหลักปฏิบัติสําคัญลวนเหมือนกัน ตามหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม เนื่องจาก
                       มัสยิดเปนสถานที่ของพระเจา การเขาไปในมัสยิด และการปฏิบัติกิจตาง ๆ จึงควรตองมีความเคารพ
                       ยําเกรงเครงครัด และปฏิบัติอยางเหมาะสม ดังนั้นจึงตองเรียนรูพิธีกรรมและแนวทางปฏิบัติเมื่อไป

                       มัสยิดเปนอยางดี
                       กกกกกกกบทที่ 3 แหลงเรียนรูที่สําคัญดานประเพณี วัฒนธรรมชุมชนในเขตประเวศ
                       กกกกกกกกกกก1.  ดนตรีนาเสป
                       “นาเสป”เปนการขับรองลํานําพื้นบาน ดนตรีพื้นถิ่นของมุสลิม โดยมีชุมชนสุเหราจระเขขบ อยูที่แขวง
                       ประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร เปนชุมชนที่ยังอนุรักษ วัฒนธรรมดนตรีของอิสลามที่เรียกวา

                       นาเสป ชุมชนไดมีการสืบทอด ตอกันมาอยางยาวนาน ผานรูปแบบของวงดนตรี มีชื่อวา คณะเบดูอิน
                       นาเสปโบราณ ซึ่งเปนคณะนาเสปคณะเดียวในชุมชน โดยแสดงในงานรื่นเริง งานมงคลตางๆ เชน งาน
                       แตงงาน งานวันเด็ก งานบุญ มีการนําเพลงอาหรับ มาเลย อินโด มาผสมผสานกับเพลงพื้นบานได

                       อยางลงตัว มีการนําเครื่องดนตรีตางๆเขามารวมในการแสดง เชน แอคคอรเดียน กีตาร เบส คียบอรด
                       กลองชุด เปนแบบดนตรีสากลมากขึ้น การแตงกายแบบมุสลิมดั้งเดิม (ฮิญาบ) ในการขึ้นแสดง
                       ตลอดจนความคิดสรางสรรคในการนําเพลงนาเสปมาประยุกตเปนภาษาไทยเพื่อใหผูฟงเขาใจไดมาก
                       ยิ่งขึ้นความสําคัญของดนตรีนาเสป คือดนตรีของชาวมุสลิม บรรเลงในพิธีกรรมโดยใชเนื้อหาของเพลง

                       ที่แตงขึ้นใหสอดคลองกับวัฒนธรรมนั้นๆ เพื่อสรางความสนุกสนานรื่นเริงใหกับคนในชุมชนเปนการบง
                       บอกถึงวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อของชาวมุสลิมที่มีอยูแตเกากอนโดยแสดงในงานรื่นเริง งาน
                       มงคลตางๆ เชน งานแตงงาน งานวันเด็ก งานบุญลักษณะของดนตรีนาเสปจะใชบรรเลงในงานมงคล
                       เชนการบรรเลงดนตรีนาเสปในงานประเพณีนิกะห(พิธีแตงงาน) ประเพณีวันตรุษอีดิ้ลฟฎริ ประเพณี

                       วันตรุษอีดิ้ลอัฏฮางานขึ้นเปล งานขึ้นบานใหม เปนตน อีกทั้งยังสามารถบรรเลงเพื่อสรางความ
                       สนุกสนานความบันเทิง บทเพลงนาเสปมีเนื้อรองเปนภาษามาลายู ภาษาอาหรับ และภาษาไทย ซึ่ง
                       บางบทเพลงมีการผสมผสานกันระหวางภาษามาลายูและภาษาไทย หรือไมก็มีทั้ง 3 ภาษาในเพลง
                       เดียวกัน มีการประยุกตดวยเครื่องดนตรีดั้งเดิมกลองรํามะนาและนําเครื่องดนตรีสากลมาประกอบใน

                       การบรรเลง
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17