Page 14 - Prawet
P. 14

15







                       พลอยซึ่งเปนผูถายทอดความรูดานการเจียระไนพลอยจากประสบการณที่สั่งสมมากวา 40 ป ทั้งใน
                       ดานทฤษฎีและการปฏิบัติ ตั้งแตทักษะการวิเคราะหพลอยเบื้องตนการเจียระไนพลอย การประเมิน
                       คุณภาพและราคาพลอย ตลอดจนสงเสริมการทําธุรกิจคาพลอย
                       กกกกกกกกกกก2.  บานผาสุกขนมไทย

                       บานผาสุกขนมไทยเกิดจากการรวมกลุมแมบานที่มีความสนใจในการทําขนมไทยซึ่งมีรสชาติที่เปน
                       เอกลักษณนาสนใจเปนภูมิปญญาทองถิ่นที่ถายทอดตอกันมาจากบรรพบุรุษซึ่งมีความเชี่ยวชาญเปน
                       ทุนเดิมอยูแลวบานผาสุกขนมไทย ตั้งอยู เลขที่ 54 ซอยพัฒนาการ 69 ถนนพัฒนาการ แขวงประเวศ
                       เขตประเวศ การเดินทางไปยังบานผาสุกขนมไทย สามารถเดินทางโดยรถประจําทาง สาย 92  สาย

                       517 รถเมลเล็กสาย 11 สายมหาวิทยาลัยรามคําแหง 2 - สถานีรถไฟฟาหัวหมาก สายพระโขนง –จัส
                       โก ลงที่ปายหมูบานผาสุก แลวนั่งรถมอเตอรไซดรับจางเขาซอยพัฒนาการ 69
                       การทําขนมไทยแตละชนิดนั้นตองอาศัยความละเมียดละไมความประณีตวิจิตรบรรจงในการทําทั้งสิ้น
                       ขนมไทยสมัยแรกๆนั้นจะใชสวนผสมเพียงขาวเหนียวขาวเจามะพราวน้ําตาลเชนขนมถวยขนมตมขาว

                       ตมแดงนางจินตนา บุญมาเลิศ เปนผูสืบทอดภูมิปญญาการทําขนมไทยจากบรรพบุรุษเปนเวลากวา
                       40 ป ปจจุบันขนมของบานผาสุกมีหลายชนิด เชน ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง เม็ดขนุน ทองเอก
                       ขนมเคกแตงหนา และขนมปงสอดไสตางๆ

                       กกกกกกกกกกก3.  บานสุนิสางานปกฉลุ
                       อาชีพการปกผาไดสืบทอดมาตั้งแตครั้งอดีต จากแมสูลูก การปกผาของสตรีชาวมุสลิมจะเกิดขึ้นใน
                       ยามวางจากการทําไรทํานาเมื่อสามีหรือผูชายออกไปทํางานนอกบานสตรีจึงมีหนาที่ในการดูแลบาน
                       และเลี้ยงดูบุตรการปกผาจึงเปนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในยามวางแตตอมามีการรวมกลุมของสตรีที่ปกผา
                       กอใหเกิดการสรางงานและอาชีพที่แมบานสามารถหารายไดชวยเหลือจุนเจือครอบครัวสตรีชาวมุสลิม

                       การเดินทางไปบานสุนิสางานปกฉลุ  สามารถเดินทางไปได 2 เสนทาง เสนทางที่ 1 เขาซอย
                       พัฒนาการ 69 ถนนพัฒนาการเลี้ยวขวา แยก 6  ตรงเขามาสุดซอยเสนทางที่ 2 เขาซอยออนนุช 59
                       ถนนออนนุช สามารถจอดรถไดที่บริเวณมัสยิดยามิอุลอิบาดะห (บานทางควาย) แลวเดินขามสะพาน

                       ขามคลอง ลงสะพานเลี้ยวซาย
                       การปกผามี 2 ลักษณะคือการปกอยางหยาบและการปกอยางละเอียดและยังแบงเปนกลุมยอยอีก 6
                       กลุม ไดแก กลุมลวดลายไมดอกกลุมลวดลายผักและผลไมกลุมลวดลายพรรณพฤกษาที่ไมใชไมดอก
                       และไมผลกลุมลวดลายสัตวกลุมลวดลายสิ่งของเบ็ดเตล็ด และกลุมลวดลายผสมผสานนางจินดา โตหัว

                       ปา ภูมิปญญาของบานสุนิสางานปกฉลุบานสุณิสา งานปกฉลุ ไดประกอบอาชีพนี้เปนเวลากวา 30 ป
                       โดยเริ่มแรกนั้นเปนธุรกิจเล็กๆ ในครอบครัว ตอมามีสมาชิกเพิ่มขึ้นจนสามารถรวมตัวเปนกลุมได
                       กกกกกกกกกกก4.  แบมะฟารม
                       แบมะฟารมไดสืบทอดการเลี้ยงแพะมาจากบรรพบุรุษ ที่ประกอบอาชีพเลี้ยงแพะมาชานานและเปน

                       อีกหนึ่งอุตสาหกรรมในครัวเรือน ดําเนินกิจการโดย นายชัยยาและนางรัตติกาล ผองอําไพ แบมะ
                       ฟารม เปนศูนยสาธิตการเลี้ยงแพะนมและศูนยเครือขายการเลี้ยงสัตวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการ
                       เดินทางไปยัง แบมะฟารม สามารถเดินทางโดยรถประจําทาง สาย 92      สาย 517รถเมลเล็กสาย
                       11 สายมหาวิทยาลัยรามคําแหง 2 - สถานีรถไฟฟาหัวหมาก สายพระโขนง –จัสโก  ลงที่ปายหมูบาน

                       ผาสุก  แลวนั่งรถมอเตอรไซดรับจางเขาซอยพัฒนาการ 63 การเลี้ยงแพะจะมีการเลี้ยงอยู 2 ประเภท
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19