Page 29 - Prawet
P. 29

33







                       กอสรางแบบจีน ซึ่งเปนที่นิยมในสมัยรัชกาลที่ 3 แหงกรุงรัตนโกสินทร เหตุที่ชื่อวาวัดกระทุมเสือปลา
                       นั้น เพราะมีตนกระทุมขึ้นอยูจํานวนมาก และมีเสือปลา ซึ่งเปนเสือชนิดหนึ่งตัวใหญกวาแมวเล็กนอย
                       อาศัยอยูในบริเวณนี้จํานวนมาก ชาวบานจึงเรียกวา วัดกระทุมเสือปลาจนถึงปจจุบัน  มีเนื้อที่ 25 ไร

                       3 งาน แบงเปนพื้นที่ของสถานศึกษา 5 ไร และพื้นที่ของวัด 20 ไร
                                  ยังพบวาในพื้นที่เขตประเวศมีหลักฐานแสดงการตั้งถิ่นฐานของคนจีนที่ประกอบการตั้ง
                       บอนและโรงฝนในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ณ ตําบลทุงเสือปลาเมือง
                       นครเขื่อนขันธและจากการสัมภาษณประชาชนในพื้นที่พบวาชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนในอดีต
                       ประกอบอาชีพคาขายในตลาด มีการตั้งโรงสีขาวการทําทาคาขายขาวเปนตนการผสมผสานทาง

                       วัฒนธรรมทําใหกลุมชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีนอาศัยอยูรวมกันในพื้นที่เขตประเวศตั้งแตอดีต
                       จนถึงปจจุบันซึ่งสวนใหญนับถือศาสนาพุทธรวมถึงการนับถือบูชาเทพเจาของคนจีนจึงกอใหเกิดการ
                       สรางศาสนสถานที่ไดรับอิทธิพลจากจีน รวมถึงวัดกระทุมเสือปลาดวย
                                  ในปพ.ศ. 2467 ขุนประเวศชนารักษ (เถาแกเอี๋ยว) และนางสั้นกิตติโกวิทภรรยาไดทํา

                       การบูรณะปฏิสังขรณอุโบสถ เปนสถาปตยกรรมจีนปจจุบันอาคารดังกลาวคือวิหารประดิษฐานหลวง
                       พอโสธร (จําลอง)
                                  วัดกระทุมเสือปลามีเจาอาวาสดํารงตําแหนงถึงปจจุบันจํานวนทั้งสิ้น 11 รูป

                       โดยพระครูปลัดสุรศักดิ์วิริยธโรเจาอาวาสรูปที่ 11ไดปกครองและพัฒนาวัดตอเนื่องยาวนานเปนเวลา
                       59 ปถาวรวัตถุภายในวัดที่ปฏิสังขรณและกอสรางไดแก
                                  ป พ.ศ. 2492 สรางกุฏิสงฆสามหลังลักษณะทรงไทยชั้นเดียวใตถุนสูง
                                  ป พ.ศ. 2493 สรางโรงเรียนพระปริยัติธรรมลักษณะทรงไทยประยุกตชั้นเดียว
                                  ป พ.ศ. 2495 บูรณะอุโบสถหลังเกา

                                  ป พ.ศ. 2496 สรางศาลาการเปรียญลักษณะทรงไทยหลังคาปนหยายอดจั่วชั้นเดียว
                       โครงสรางไมสัก
                                  ป พ.ศ. 2497 – 2502 สรางศาลาดินหนาวัดจํานวน 2 หลังสรางกุฏิสงฆรวม 4 หลัง

                                  ป พ.ศ. 2515 – 2539 สรางอุโบสถใหมเปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียวยกพื้น
                       สูงกวาง 43 เมตรยาว 55 เมตรสูง 30 เมตรหลังคาซอนสามชั้นสี่ตับเครื่องบนลํายองประดับชอฟา
                       ใบระกามีเสารายประดับคันทวยสรางกําแพงรอบพรอมซุมประตูเขาออกตรงกึ่งกลางทั้งสี่ทิศ
                                  พ.ศ. 2538ซอมแซมพระอุโบสถหลังเกาครั้งใหญโดยเปลี่ยนโครงสรางหลังคาจากไมเปน

                       โคลงหลังคาเหล็กมุงกระเบื้องดินเผาเคลือบสีปนลายประดับปูนปนหนาบันใหมทั้งหมดลงรักปดทอง
                       ลายรดน้ําประตู-หนาตางไม
                                  พระครูอมรธรรมนิวิฏฐมรณภาพดวยโรคชราในวันที่  30  กรกฎาคมพ.ศ.2547
                       สิริอายุรวม 86 ป 8 เดือน 13 วันพรรษา 66ปจจุบันภายในวัดกระทุมเสือปลา มีสิ่งที่นาสนใจและสิ่ง

                       สักการะจํานวนมาก มีพระครูปลัดสุรศักดิ์วิริยธโรเปนเจาอาวาส ตั้งแต ป พ.ศ.2547 เปนตนมา
                                  กลาวโดยสรุป วัดกระทุมเสือปลาเปนวัดที่มีประวัติเกาแกสรางขึ้นประมาณ
                       ป พ.ศ. 2345 ในสมัยรัชกาลที่ 3 แหงกรุงรัตนโกสินทร วัดกระทุมเสือปลาเปนวัดที่มีประวัติเกาแก
                       อยูคูกับการตั้งรกรากถิ่นฐานของชุมชนประเวศ เชื่อมโยงกลุมคนไทยและชาวจีนอยางยาวนาน

                       กกกกกกก2.ที่ตั้ง แผนที่และการเดินทางของวัดกระทุมเสือปลา
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34