Page 99 - Prawet
P. 99

103







                       กลาวโดยสรุป  นางจินตนา บุญมาเลิศ เปนผูสืบทอดภูมิปญญาการทําขนมไทยจากบรรพบุรุษมาเปน
                       เวลากวา 40 ป ขนมของบานผาสุกมีแทบทุกชนิดไมวาจะเปนทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง เม็ดขนุน
                       ทองเอก ขนมเคกแตงหนา และขนมปงสอดไสตางๆ


                       เรื่องที่ 3 บานสุนิสางานปกฉลุ

                       กกกกกกก1.  ประวัติของบานสุนิสางานปกฉลุ
                       กกกกกกก1.เนื่องจากในเขตประเวศมีชาวมุสลิมอาศัยอยูเปนจํานวนมากสตรีชาวมุสลิมสวนใหญจะ

                       ประกอบอาชีพการปกผาในอดีตการปกผาของสตรีชาวมุสลิมจะเกิดขึ้นในยามวางจากการทําไรทํานา
                       เมื่อสามีหรือผูชายออกไปทํางานนอกบานสตรีจึงมีหนาที่ในการดูแลบานและเลี้ยงดูบุตรการปกผาจึง
                       เปนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในยามวางแตตอมาเกิดการรวมกลุมของสตรีที่ปกผาดวยกันกอใหเกิดการสราง

                       งานและอาชีพที่แมบานสามารถหารายไดชวยเหลือจุนเจือครอบครัวสตรีชาวมุสลิมสวนใหญของ
                       ชุมชนในพื้นที่เขตประเวศมีความรูความชํานาญในการปกผาเกิดจากการฝกหัดและการสั่งสม
                       ประสบการณตั้งแตวัยเยาวจากแมสูลูกเนื่องจากผูหญิงจะตองอยูแตบานทํางานบานและทําหนาที่ตาม
                       แบบอยางของแมการถายทอดศิลปะการปกผาและลวดลายตางๆรวมไปถึงความชํานาญจึงเกิดขึ้น

                       วิวัฒนาการการปกผาของสตรีชาวมุสลิมตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันเกิดขึ้นจากการระยุกตใชอุปกรณใน
                       การเพิ่มผลผลิตเพื่อการคากลาวคือในอดีตสตรีชาวมุสลิมจะใชมือในการปกผาการเขียนลายดวยมือลง
                       ผาแลวปกใหเปนรูปตามลายที่ไดเขียนไวตอมาเกิดการใชจักรเย็บผาเขามาชวยในการปกการใชจักรถีบ
                       และกระดาษไขในการเขียนลายลงบนผาทําใหไดลวดลายที่มีขนาดและลักษณะที่เทากันตามความ

                       ตองการของผูผลิตและตอมาเปลี่ยนมาใชจักรมอเตอรเพื่อเพิ่มผลผลิตใหมากขึ้นทําใหการปกผา
                       กลายเปนอุตสาหกรรมขนาดเล็กที่ชวยเสริมรายไดใหกับครอบครัวชาวมุสลิมอีกทางหนึ่งดวยผาสําคัญ
                       ที่เกี่ยวเนื่องในศาสนาอิสลามไดแกผาฮิญาบหรือผาบาวาคือผาคลุมศีรษะของสตรีมุสลิมซึ่งบทบัญญัติ
                       ในศาสนาอิสลามระบุใหผูหญิงสวมผาคลุมยาวจนปดหนาอกเพื่อเปนการสํารวมฮิญาบในความหมาย

                       ทางอาการนามคือการปดการซอนการปกคลุมหรือมีความหมายอีกนัยวามานกั้นแตความหมายในทาง
                       ศาสนาบรรดานักวิชาการไดใหความหมายรวมไววาหมายถึงเครื่องแตงกายหรืออาภรณมุสลิมะหที่
                       ปกปดสวนที่เรียกวา  “เอาเราะห”  คําวาเอาเราะหนี้นักวิชาการมีความเห็นเปนสองฝายฝายหนึ่งมี

                       ความเห็นวาเอาเราะหคือบางสวนของรางกายสตรีซึ่งจะตองปกปดทั้งหมดตั้งแตศีรษะจรดเทาสวนอีก
                       ฝายหนึ่งมีความเห็นวาทุกสวนของรางกายสตรีเปนเอาเราะหรวมทั้งใบหนาและฝามือดังนั้นฮิญาบจึง
                       มิไดหมายถึงเฉพาะผาคลุมศีรษะเทานั้นนอกจากนี้บางทานยังมีความเห็นวาฮิญาบเปนชุดที่สตรีชาว
                       อาหรับสวมใสกันในสมัยกอนอิสลามหรือเปนแฟชั่นของสตรีชาวอาหรับหรือเปนประเพณีการแตงกาย
                       ของสตรีที่สืบทอดกันมาหรือเปนเพียงเสื้อคลุมเพื่อกันฝุนของสตรีในประเทศแถบทะเลทรายการมี

                       ความเห็นเชนนี้ถือเปนความเขาใจผิดเพราะการสวมฮิญาบเปนบัญญัติที่อัลลอฮฺ(ซ.บ.) ทรงประทานลง
                       มาเกี่ยวกับฮิญาบอยูในซูเราะหอัลอะหที่ 59 วา
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104