Page 55 - Prawet
P. 55

59







                       กกกกกกก2.  สื่ออิเล็กทรอนิกส  ไดแก
                        2.1  คลิป
                                              2.1.1  คลิปเรื่อง เบดูอิน เด็กปอเนาะ ผูจัดทํา เบดูอิน นาเสปโบราณ สืบคนจาก
                       https://www.youtube.com/watch?v=J6-SWD-QyA0&feature=youtu.be

                              2.2เว็ปไซต ไดแก
                                              2.2.1  บทความเรื่อง กลองชุดผูเขียน Adinandolohสืบคนจาก
                       http://adinandoloh.blogspot.com/2015/11/1.html
                       กกกกกกก3.  สื่อบุคคลหรือภูมิปญญา

                       3.1  นายวัชร  พึ่งกุศล ที่อยู บานเลขที่ 34 ซอย 01 กาญจนาภิเษก 26 แขวงประเวศ เขตประเวศ
                       กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท 08-6025-9390
                       3.1  นายบุญเหลือ แซคู ที่อยู บานเลขที่ 4/1-4/2 ซอยออนนุช 69                  แขวงประเวศ  เขต
                       ประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท 0-2328-7782

                       กกกกกกก4.  สื่อแหลงเรียนรูในชุมชน
                       4.1  ชื่อดนตรีนาเสป สถานที่ตั้งบานเลขที่ 34 ซอย 01 กาญจนาภิเษก 26           แขวงประเวศ เขต
                       ประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท 08-6025-9390

                       4.2  ชื่อโขนสดประยุทธ ดาวใต สถานที่ตั้งบานเลขที่ 4/1 - 4/2 ซอยออนนุช 69  แขวงประเวศ เขต
                       ประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท 0-2328-7782
                       4.3  ชื่อชุมชนคลองปกหลักพัฒนา สถานที่ตั้งที่ทําการชุมชน
                       กาญจนาภิเษก 48 แขวงดอกไม เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท
                       0-2726-3226


                       เรื่องที่ 1  ดนตรีนาเสป

                       กกกกกกก1.ประวัติของดนตรีนาเสปดนตรีกับศาสนา เปนสิ่งที่อยูคูกันมาตั้งแตโบราณกาล
                       การใชเสียงดนตรีและบทเพลงในการบรรเลงสรรเสริญ หรือประกอบพิธีกรรมตางๆ เพื่อสื่อสารถึงองค
                       ศาสดาโดยผานบทเพลง ไมวาจะเปนการสรรเสริญ การขอพร หรือการขออภัยบาป จิตใจของมนุษย
                       ไดรับการเยียวยาจากศาสนาผานบทเพลง แตละศาสนาตางก็มีหลักปฏิบัติและกฏที่แตกตางกันออกไป

                       แตศาสนาหนึ่งที่มีกฏเกณฑเกี่ยวกับเรื่องดนตรีที่ชัดเจนกวาศาสนาอื่นคือ ศาสนาอิสลาม
                       กกกกกกกศาสนาอิสลาม นับถือพระเจาองคเดียวคือ พระอัลเลาะห ไมมีนักบวชมุสลิมใน
                       ศาสนาอิสลาม ไมแยกกิจกรรมทางโลกและกิจกรรมศาสนาออกจากกัน คําสอนมีลักษณะเปน
                       จริยธรรมและกฎหมาย แนวทางการดําเนินชีวิตของมุสลิมไดมาจากคัมภีรอัลกุรอานและจริยวัตรของ

                       ศาสดามุฮัมมัด ในสวนของวัฒนธรรมเกี่ยวกับดนตรีของศาสนาอิสลามนั้น เปนที่ทราบกันดีในชาว
                       มุสลิมวาดวยกฏขอหามเลนดนตรีและหามรองเพลงดังบทจากงานเขียนของนักวิชาการคนหนึ่งชื่อ
                       “อิบนุ ก็อยยิม” ไดกลาวเกี่ยวกับเรื่องนี้อยางกวางขวางในสวนที่แสดงถึงการลอลวงของพวกซาตาน
                       ตอผูที่อางวาการเตนรํา การรองเพลงและฟงดนตรีเปนความมหัศจรรยทางจิตใจ เขากลาววา “ใน

                       บรรดากลไกและกับดักของศัตรูของ อัลลอฮ(ศุบห) ซึ่งมันไดวางเอาไวเพื่อเปนกับดักมนุษยผูมี
                       สติสัมปชัญญะ ความรูและดิน (ความศรัทธา) เพียงเล็กนอย และดวยวิธีการที่มันลอลวงผูหลงผิดและ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60