Page 56 - Prawet
P. 56

60







                       เพิกเฉย ซึ่งก็คือการคร่ําครวญ การผิวปาก การปรบมือ และเพลงประกอบซึ่งประกอบกับเครื่อง
                       (ดนตรี) ที่ตองหามทั้งหลาย สิ่งเหลานี้กั้นขวางอัลกุรอานจากจิตใจของมนุษย” มีนักวิชาการหลาย
                       ทานไดทําการศึกษาเกี่ยวกับกฎขอหาม เกี่ยวกับดนตรีและเสียงเพลงที่มีการผอนปรนในบางกรณี
                       ดังเชน ในโอกาสตอนรับบุคคลสําคัญ งานเลี้ยงฉลองแตงงาน (โดยเนื้อหาของเพลงตองไมเกี่ยวกับ

                       ความรัก) ความสนุกสนานรื่นเริงแบบ เหมาะสม การกีฬาซึ่งบริสุทธิ์ การรองเพลงกลอมลูกหลานเพื่อ
                       ความสนุกสนาน ทําใหเด็กหยุดรองไหหรือนอนหลับ บทเพลงซึ่งมีคํารองชวยยกระดับจิตใจใหสูงขึ้น
                       และกระตุนใหคนหันมาทํากิจกรรมทางศาสนา เชนการขอดุอาอ การทําการกุศลและการญิฮาดเปน
                       ตน ควรไดรับการยกยองสรรเสริญ และหนึ่งในบทเพลงที่มีความสําคัญตอวิถีชีวิตของชาวมุสลิมมา

                       ตั้งแตครั้งโบราณกาลคือดนตรีนาเสป
                       กกกกกกก“นาเสป” เปนการขับรองลํานําพื้นบาน ดนตรีพื้นถิ่น ของมุสลิม คําเรียกเดิมนั้น “นาเสป”
                       บางก็วาเพี้ยนมาจากคําวา “นะซีด” หรือ “นาเสะ” ซึ่งเปนคําในภาษามลายูในภาคใต เมื่อชาวมุสลิม
                       ในเขตปตตานีอพยพเขามาอาศัยอยูในเขตมีนบุรี คําวา “นาเสะ” ก็เพี้ยนไปเปน                “นา

                       เสป” การแสดงนาเสปในปจจุบันมีการใชเครื่องดนตรีหลายชิ้นประกอบ ไดแก ไวโอลิน ฉิ่ง
                       มาราคัสแอคคอรเดียนทําใหการรองเพลงสนุกสนาน สวนเนื้อหายังคงเปนเรื่อง คําสอนทางศาสนา
                       และมีการแตงเนื้อรองชื่นชมธรรมชาติเพิ่มขึ้นภายหลังชาวมุสลิมมีความผูกพันธกับการรองนาเสปมา

                       ตั้งแตเด็ก ปจจุบันดนตรีนาเสปเปนสิ่งที่แทบจะเลือนหายไปจากสังคมชาวมุสลิมเนื่องจากขาดการสืบ
                       ทอด และการรับวัฒนธรรมสมัยใหมเขามาในชุมชนมากขึ้น สําหรับดนตรีนาเสปโบราณในประเทศ
                       ไทยที่เปนแบบฉบับเดิมนั้นปจจุบันมีไมกี่ชุมชนที่ไดอนุรักษและสืบทอดสูรุนลูกหลาน ซึ่งหนึ่งในชุมชน
                       นั้นก็คือ ชุมชนสุเหราจรเขขบ แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร
                       กกกกกกก1.  1.1  ชุมชนสุเหราจรเขขบ อยูที่แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร เปนชุมชน

                       ที่รวมวัฒนธรรมของ ศาสนาอิสลาม มีประวัติความเปนมา อันยาวนาน กลุมชาติพันธุไทยมุสลิมใน
                       ยานจรเขขบ สวนใหญเปนมุสลิมเชื้อสายมลายูถูกกวาดตอนจากรัฐปตตานีในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
                       นั่งเกลาเจาอยูหัวนับถือนิกายซุนนียหรือ ซุนนะหประกอบอาชีพ ดานการเกษตรเชน การเลี้ยงแพะ

                       เลี้ยงปลา เลี้ยงไก เปนตน นอกจากการอนุรักษวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งมุสลิมใน
                       ชุมชนถือปฏิบัติอยางเครงครัดแลว การอนุรักษวัฒนธรรมดนตรีของอิสลามที่เรียกวานาเสป ชุมชนได
                       มีการสืบทอด ตอกันมาอยางยาวนานผานรูปแบบของวงดนตรี มีชื่อวา คณะเบดูอิน นาเสปโบราณซึ่ง
                       เปนคณะนาเสปคณะเดียวใน ชุมชน โดยแสดงในงานรื่นเริง งานมงคลตางๆ เชน งานแตงงาน  งานวัน

                       เด็ก งานบุญ มีการนําเพลงอาหรับ มาเลย อินโด มาผสมผสานกับเพลงพื้นบานไดอยางลงตัว  มีการ
                       นําเครื่องดนตรีตาง ๆ เขามารวมในการแสดง เชน แอคคอรเดียนกีตาร เบสคียบอรด กลองชุด
                       เปนแบบดนตรีสากลมากขึ้น การแตงกายแบบมุสลิมดั้งเดิม (ฮิญาบ) ในการขึ้นแสดง ตลอดจน
                       ความคิดสรางสรรคในการนําเพลงนาเสปมาประยุกตเปนภาษาไทยเพื่อใหผูฟงเขาใจไดมากยิ่งขึ้น

                       กกกกกกก1.  1.ประวัติของดนตรีนาเสปคณะเบดูอินนาเสปโบราณชุมชนสุเหราจรเขขบแขวงประเวศ
                       เขตประเวศลุมน้ําบานจรเขขบเปนชุมชนสุดทายในยานถนนออนนุช เปนมุสลิมเชื้อสายมลายูเปนตน
                       ตระกูลของ เมฆลอย พึ่งกุศล จิ๊เมฆ ทํานาเปนอาชีพหลัก เมื่อยามวางจากการทํานา หรือ มีงานบุญ
                       งานแตงงาน งานรื่นเริงตาง ๆ ก็จะมีการแสดงขับรองบทเพลงพื้นบานโดยมีกลองตุก  (กลองสองหนา

                       ใบเล็ก ๆ) มีการปรบมือสรางจังหวะ ขับรองบทเพลงเปนภาษามลายู มีนักรองนํา 1 คน และมีลูกคูชา
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61