Page 66 - Prawet
P. 66

70







                       น้ําตาล นิยมทําในชวงสารทไทยแรม 15 ค่ํา เดือน 10 และบางทองถิ่นนิยมรับประทานกับกลวยไข มี
                       กลาวถึงในนิราศเดือนสิบวาขนมกระยาสารทเปนขนมโบราณ มีความพิเศษตรงที่เปนขนมสําหรับงาน
                       บุญประเพณีของไทย
                       แมขนมกระยาสารทจะเปนขนมไทยที่มีมาตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย แตรากศัพทของคําวาสารทจริง ๆ

                       แลวเปนคําในภาษาอินเดีย มีความหมายวา ฤดูใบไมรวง หรือชวงระยะปลายฝนตนหนาว ซึ่งเปนเวลา
                       เดียวกันกับฤดูการผลิดอกออกผลของพืชพันธุ โบราณจึงถือกันวาควรจะนําผลผลิตเหลานั้นมาถวาย
                       แดสิ่งศักดิ๋สิทธิ์เพื่อเปนการสักการะ และขอพรใหพืชของตนออกดอกออกผลดกดี และประเพณีนี้ก็มี
                       ในแถบประเทศจีนและตอนเหนือของยุโรปดวย แตสําหรับไทยแลวประเพณีนี้มาแพรหลายในชวงสมัย

                       สุโขทัย พรอม ๆ กับพราหมณที่เริ่มเขามามีบทบาทในไทย แตชวงเวลาของประเพณีตามอินเดีย เปน
                       ชวงเวลาที่ตรงกับระยะขาวเริ่มออกรวงของไทย ชาวบานจึงเกี่ยวขาวที่ยังมีเปลือกออน ๆ และเมล็ดยัง
                       ไมแก เอามาคั่วแลวตําใหเปนเมล็ดขาวแบน ๆ เรียกวา ขาวเมาแทน
                       กกกกกกกสารท เปนคําเรียกชวงเวลาหรือฤดูกาลแรกเก็บเกี่ยวผลิตผลจากการเพาะปลูกในวิถีชีวิต

                       ของคนไทยมักเริ่มทําการ เพาะปลูกชวงตนฤดูฝนจนกระทั่งไดผลผลิตพรอมเก็บเกี่ยวประมาณเดือน
                       10 ซึ่งเรียกชวงเวลานี้วา เทศกาล สารทเดือน 10สําหรับคนไทยและชาวอุษาคเนยที่ดํารงชีวิตดวยการ
                       กสิกรรมแลว ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวจะมีพิธีกรรมที่แสดงความ ขอบคุณตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เปนตัวแทนของ

                       ดินฟาอากาศ ซึ่งเชื่อวาไดชวยอํานวยความอุดมสมบูรณและคุมครองใหพืชที่เพาะปลูก ไดเจริญเติบโต
                       จนสามารถเก็บเกี่ยวเปนอาหารเลี้ยงชีพได โดยจะนําพืชพันธุธัญญาหารที่เปนผลผลิตแรกเก็บเกี่ยวไป
                       แปรรูปเปนอาหารเฉพาะเทศกาล แลวนําอาหารนั้นไปบวงสรวงเซนไหวสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตางๆ
                       กกกกกกกในพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเรื่อง พระราชพิธี 12 เดือน
                       ทรงมีพระราชวิจารณไววา พระราชพิธีสารทนาจะเปนธรรมเนียมของพราหมณมาแตเดิม จนประมาณ

                       รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมี พระราชดําริใหนําคติแบบพระพุทธศาสนาเขา
                       มาปรับเปลี่ยนพระราชพิธีตางๆ ราชสํานักจึงไดเพิ่มเติมพิธีสงฆแบบพุทธเขาไปในพิธีโบราณหลายพิธี
                       ทําใหพระราชพิธีตางๆ มีลักษณะของทั้งพิธีพุทธและพิธีพราหมณในพิธีสารทจึงมีการนําอาหาร

                       เทศกาลสารทไปถวายเปนภัตตาหารแดพระสงฆเพื่อเปนการทําบุญอุทิศสวนกุศลแกบรรพบุรุษและผู
                       ลวงลับของครอบครัว ตอมาภายหลังจึงไดกลายเปนเทศกาลทําบุญที่ปฏิบัติกันทั่วทุกภูมิภาคใน
                       สังคมไทย เชน ประเพณีชิงเปรตในภาคใต การทําบุญขาวสารในภาคอีสาน เปนตน
                       กกกกกกกสําหรับธรรมเนียมการปรุงอาหารจากพืชพันธุธัญญาหารแรกเก็บเกี่ยวในเทศกาลสารทนั้น

                       ถือวาเปนการประกอบ อาหารที่มีความประณีตเพื่อแสดงความสักการะตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือพระ
                       พุทธคุณ โดยมีความพิถีพิถันแตกตางกันไปตามลําดับ ชั้นของผูประกอบพิธีกรรมดวยในพระราชพิธี
                       สารทของหลวงจะมีการปรุงอาหารที่ประณีตกวา มีธรรมเนียมการปรุงอาหารใน วันสารทที่ชื่อวา ขาว
                       ทิพย ซึ่งเปนอาหารโบราณในพระราชพิธีมาตั้งแตสมัยอยุธยา โดยนําพืชพันธุธัญญาหารตางๆ อาทิ

                       ขาว ถั่ว งา น้ําผึ้ง น้ําออย รวมถึงผลไมชั้นดีชนิดตางๆ มากวนในกระทะใหเปนเนื้อเดียวกันจนไดเปน
                       ขนมเหนียวๆ ขาวทิพยมีชื่อเรียกอีก อยางหนึ่งวา มธุปายาส ซึ่งเปรียบเปนอาหารที่นางสุชาดาถวาย
                       แดพระพุทธเจากอนที่พระพุทธองคจะตรัสรู ตอมาในสมัยรัชกาลที่4โปรดใหเพิ่มอาหารอีกชนิดหนึ่งใน
                       พระราชพิธีสารทคือ ขาวยาคูทําจากขาวที่แตกรวงออนๆ ซึ่งขาวยังไมแข็งเปนเมล็ด คั้น ออกมาเปน

                       น้ําขาวที่เรียกวา น้ํานมขาว แลวนําไปผสมกวนกับแปงใหจับตัวเปนกอน ไดขนมที่มีลักษณะคลายแปง
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71