Page 87 - Prawet
P. 87

91







                       กกกกกกก1.  เสนทางการเดินทางมายังBAANPLOY วิสาหกิจชุมชนชมรมบานเจียระไนพลอยเขาได2
                       เสนทางซ.พัฒนาการ 69 เลี้ยวขวา แยก 6 ตรงเขามาสุดซอยออนนุช 59 สามารถจอดรถไดที่บริเวณ
                       มัสยิดยามิอุลอิบาดะห (บานทางควาย) แลวเดินขามสะพานขามคลอง ลงสะพานเลี้ยวซาย
                       กกกกกกก3.องคความรูของบานเจียระไนพลอย

                       กกกกกกก1.  3.1  ความหมายของการเจียระไนพลอย
                       การเจียระไนพลอย  คือการนําเอากอนอัญมณีมาตกแตงใหเปนรูปรางตามแบบโดยการตัดเหลี่ยมและ
                       ขัดเงาของเหลี่ยมพลอยที่นํามาเจียระไนแบงออกเปน 2 ประเภทคือพลอยเนื้อแข็งและพลอยเนื้อออน
                       พลอยเนื้อแข็งคือพลอยที่อยูในตระกูลคอรันดัมไดแกทับทิมไพลินและแซฟไฟรสีตางๆซึ่งมีความแข็ง

                       อยูในอันดับ9รองจากเพชรสวนพลอยเนื้อออนคือพลอยที่จัดอันดับความแข็งต่ํากวา 9 เชนมรกต
                       โกเมนอะความารีนเพทายเพอริดอทเปนตนการเจียระไนพลอยเปนศิลปะในระดับสูงซึ่งตองใชความ
                       ประณีตและตองใชความรอบคอบเปนอยางมากเพื่อไมใหเนื้อพลอยที่จะเจียระไนเกิดความเสียหาย
                       ความสําคัญของการเจียระไนพลอยคือสงวนเนื้อพลอยไวใหมากที่สุดและใหไดสีสันงดงามที่หนาพลอย

                       หรือที่เรียกวา “น้ําขึ้นดี” หรือ “ไฟดี” พลอยที่เจียระไนไดสัดสวนดีสียอมขึ้นหนาพลอยทําใหพลอยดู
                       สวยงามขึ้น
                       กกกกกกก1.  3.2  ความสําคัญของการเจียระไนพลอย พลอยนับวามีบทบาทมากในความเชื่อของคน

                       ไทยเพราะคนไทยเชื่อวาพลอยแสดงถึงความเปนสิริมงคลความแข็งแกรงรวมถึงความเชื่อในนพรัตน
                       นพเกาหรืออัญมณีที่มีความหมายและพลังอันเปนสิริมงคล9 ชนิดชุมชนริมคลองประเวศฝงเหนือมี
                       กิจกรรมเดนคือการเจียระไนพลอยโดยมีชมรมที่จัดกิจกรรมการเรียนรูในการเจียระไนพลอยเรียกวา

                       “ชมรมบานเจียระไนพลอย” นําโดยชางฝมือทองถิ่นครูสุรเดชหวังเจริญครูภูมิปญญาไทยดาน
                       อุตสาหกรรมและหัตถกรรมครูสุรเดชไดเปดบานเปนแหลงเรียนรูเกี่ยวกับพลอยดวยความตั้งใจที่จะ

                       ถายทอดความรูเกี่ยวกับการทําพลอยที่ไมมีในตําราแตเปนการสั่งสมประสบการณมากกวา30ปซึ่ง
                       ไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษใหแกผูที่สนใจโดยครูสุรเดชจะถายทอดความรูทั้งพื้นฐานตั้งแต
                       ทักษะการวิเคราะหพลอยเบื้องตนการเจียระไนพลอยการประเมินราคาคุณภาพของพลอยและยัง

                       สงเสริมใหทําการคาไปดวยนับวาเปนการสรางงานและอาชีพใหแกคนที่มีใจรักดานพลอยสามารถ
                       นําไปประกอบอาชีพไดอีกตอไป
                       กกกกกกก1.    3.3ขั้นตอนการเจียระไนพลอยขั้นตอนการเจียระไนพลอยเริ่มตั้งแตการลางและ
                       คัดเลือกพลอยวามีรอยแตกหรือไม หากมีรอยแตกมากตองตัดแบงออกเปนหลายๆเม็ดตามรอย

                       แตกราวนั้นแลวนําพลอยมาตั้งน้ํา คือการกําหนดสวนหนาของพลอยและกนพลอย การตั้งน้ําชวยให
                       ไดสีพลอยตามที่ตองการการตัดพลอยและการโกลนพลอย เปนการกําหนดรูปรางของพลอย เพื่อใหได
                       พลอยที่มีน้ําหนักและรูปรางสวยงาม และเกิดการสูญเสียเนื้อพลอยนอยที่สุด การแตงพลอย คือนํา
                       เม็ดพลอยติดกับไมทวนแลวใชกระดาษทรายขัดผิวหนาพลอยใหเรียบ แลวจึงนําไปขัดเงาที่เครื่องขัด

                       จนขึ้นเงา โดยขัดทั้งสวนกนพลอยและหนาพลอยจนเกิดความแวววาว ซึ่งเม็ดพลอยเหลานี้สามารถ
                       นําไปทําเปนเครื่องประดับ เชน หัวแหวน จี้ หรือสรอยคอ ตอไปไดในการคัดเลือกพลอยอาจตองตัด
                       พลอยใหไดขนาดที่ตองการโดยมีวิธีการตัดพลอยดังนี้

                       3.3.1พิจารณาลักษณะพลอยกอนวาจะตัดแบบใดเพื่อจะไดสวนที่ตองการ
                       3.3.2ตัดชิ้นสวนงานตามที่ไดกําหนดไว
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92