Page 45 - bangkok yai
P. 45

39







                       ดานตะวันออกตอกับพระเจดียองคดานตะวันออกไปจนสุดมุมกําแพงหลังหนึ่ง อีกหลังหนึ่งอยูดาน
                       ตะวันตกชิดกับพระเจดียองคดานตะวันตกไปจนสุดกําแพง สวนศาลารายอีก 2 หลังที่อยูทางหลัง
                       พระวิหารหลังหนึ่งอยูชิดกับหอระฆังกังสดาล อีกหลังหนึ่งอยูระหวางหอระฆังธรรมดากับพระเจดียยอ
                       เหลี่ยมองคในสุด ศาลารายทั้ง 4 หลัง มีทรวดทรงเตี้ย ๆ แบบเดียวกัน ที่หนาบันเปนปูนปนลายดอกไม
                       ฉาบปูนขาวบาง มีกระเบื้องถวยประดับบาง ศาลาเหลานี้ปฏิสังขรณเมื่อ พ.ศ. 2497 โดยเฉพาะหลังที่

                       อยูทางดานทิศตะวันออก ทางวัดประสงคจะจัดทําเปนหองสมุดของวัดตอไป




















                               พระเจดียและศาลารายพระวิหาร                          หอไตร
                                    1.7  หอไตร
                                        หอไตร มี 2 หอ อยูทางดานหนาของหมูกุฏิคณะ 1 ใกลกับสระเล็ก ๆ และรั้วดาน
                       ตะวันตกของพระปรางค 1 หลัง ไมมีชอฟาใบระกา ทําเปนปูนปนประดับกระเบื้องถวยเปนชิ้นหลังคา
                       มุงดวยกระเบื้องเคลือบสี กรอบหนาตางเปนปูนปนลายดอกไมลงรักปดทอง และอีกหลัง 1 อยูมุมดาน

                       เหนือหนาคณะ 7 มีชอฟาใบระกาลงรักปดทอง และประดับกระจกบานหนาตางเปนลายรดน้ํารูปตนไม
                       คติเกี่ยวกับที่มีหอไตร 2 หอ พระเถระผูใหญในวัดไดแจงวาเปนเพราะวัดนี้แตเดิมมีพระราชาคณะได
                       2 รูป

                                    1.8  โบสถนอย
                                        โบสถนอย อยูหนาพระปรางค ดานเหนือซุมประตูพระเกี้ยวเปนโบสถเดิมของวัด
                       ที่สรางขึ้นในสมัยอยุธยาคูกับพระปรางคองคเดิม เปนรูปทรงเตี้ยมีมุขทั้งดานหนาดานหลัง ที่หนาบัน
                       เปนลายนกปดทองประดับกระจก ไมมีกําแพงแกว มุขดานหนาปูพื้นดวยกระเบื้องซีเมนต ปลอยวาง

                       ที่ผนังดานนอกหนาโบสถ ตรงกลางเจาะเปนรูใสถวยกระเบื้องกลม ๆ สมัยเกาไวรวม 9 รู เรียงเปนแถว3
                       แถว แถวละ 3 รู เดิมโบกปูนทับไวทั้งหมด แตเมื่อซอมใหมจึงไดพบมุขหลังประดิษฐานพระกัจจายนหนา
                       ตักกวาง 2 ศอก เปนพระลงรักปดทอง มีประตู 4 ประตู ดานหนา2 ประตู และดานหลัง 2ประตู ที่บาน
                       ประตูดานนอกเปนลายรดน้ํารูปทหาร และมีรูปดอกไมประดับ ดานในเปนภาพเขียนสีเทวดาแบบ
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50