Page 22 - Bang rak111
P. 22

15




                       ทางเชื้อชาติ ภาษาและวัฒนธรรม มีการผสมผสานระหวางชุมชนตะวันออกและตะวันตก ทั้งที่คนพื้น
                       เดิมยังคงเปนชนชาวไทย สวนชาวลาวและทวายมักจะประกอบอาชีพทําสวน ทํานา ยานสองฝงคลอง
                       สีลม และตามแนวถนนสีลม ตั้งแตศาลาแดงถึงถนนเดโช และตั้งแตถนนประมวญถึง ถนนเจริญกรุง
                       ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 5 และ รัชกาลที่ 6 บรรดาขุนนางไทยรุนใหม และผูดีใหมไดขยับขยายมา

                       ตั้งบานเรือนอยูในยานสีลม เพราะเปนทําเลที่มีอากาศดีและสามารถเดินทางเขามาติดตอยัง
                       เขตพระนครไดสะดวก นอกจากนั้นยังมีชาวอิสลามที่มีอาชีพเลี้ยงโค เลี้ยงแพะอาศัยอยูตามริมคลอง
                       บริเวณซอยประดิษฐ และยังมีวัดแขกหรือวัดพระศรีมหาอุมาเทวีตั้งอยูมุมถนนปนกับมัสยิดมีรุซุดดีน
                       ในซอยประดิษฐ ซึ่งเปนศูนยกลางของชาวฮินดูและอิสลาม ที่ปรากฏหลักฐานอยูในปจจุบันหลังจาก

                       การสรางถนนสีลมไมนานก็เริ่มมีชาวจีนในบังคับสยาม และบังคับตางประเทศรวมทั้ง จีนมลายู ที่
                       เรียกวาจีนบาบา ทยอยเริ่มเขามาตั้งถิ่นฐานทํามาหากิน เพราะยานสําเพ็งตลาดเกาและเยาวราช ที่
                       เปนศูนยกลางของชาวจีนแตเดิมเริ่มแออัดหนาแนนซึ่งสวนใหญประกอบอาชีพคาขาย เปนเจาของ
                       โรงสี โรงเลื่อยเสมียน สมุหบัญชี ตลอดจนรับราชการที่โรงภาษีและกรมเจาทา แถวถนน  สี่พระยา

                               เอกลักษณของชุมชนยานสีลม – บางรัก ซึ่งแตกตางจากชุมชนยานอื่น ๆ ใน
                       กรุงเทพมหานคร สมัยนั้นก็คือมีชาวตะวันตกหลายชาติ หลายภาษา ที่นอกจากจะเปนพวกฝรั่งกงสุล
                       นักธุรกิจหรือนายชางสถาปนิก ยังมีคณะบาทหลวงมิชชังดรมันคาทอลิกและมิชชันนารีนิกาย

                       โปรเตสแตนตที่ทํางานประกาศศาสนาไปพรอม ๆ กัน กับการทํางานดานการศึกษา และการแพทย
                       ทําใหชุมชนยานสีลม – บางรัก จึงมีทั้งสถานทูต โบสถ สภาคริสตจักร สุสานสโมสร โรงเรียนหรือ
                       แมแตโรงพยาบาล
                               กลาวโดยสรุป ที่มาของชื่อเขตบางรักมีการสันนิษฐานที่มาไวหลายแบบดวยกัน ไมวาจะเปน
                       ขอแรกที่วาบริเวณเขตบางรักนี้เคยมีคลองเล็ก ๆ ที่ไหลลงแมน้ําเจาพระยา และมีผูพบซุงไมรักขนาด

                       ใหญในคลองนั้น จึงเรียกชื่อบริเวณนี้ตามชื่อไมวา “บางรัก” หรืออีกกระแสหนึ่งที่เชื่อวา ริมแมน้ํา
                       เจาพระยาบริเวณนี้มีตนรักขึ้นอยูเปนจํานวนมากจนเปนที่มาของชื่อ บางก็วาชื่อบางรักนั้นมาจากโรง
                       หมอหรือโรงพยาบาลในสมัยนั้นซึ่งเปนโรงพยาบาลที่สําคัญของอําเภอ จึงไดชื่อวาเปน “อําเภอบาง

                       รักษ” และเรียกเพี้ยนมาเปน “บางรัก” อยางในปจจุบัน สวนที่มาสุดทายเชื่อกันวา เดิมเขตบางรักใน
                       อดีตเรียกกันวาคลองบางขวางลางใต เปนยานที่มีคนมากมายหลากหลายอาชีพทั้งกะลาสีลูกเรือฝรั่ง
                       ตางชาติอยูรวมกัน เปนแหลงกินแหลงเที่ยวที่มีการทะเลาะวิวาทถึงขั้นฆากันตายบอยครั้ง ชาวบานใน
                       แถบนั้นจึงขอใหใชชื่อที่เปนมงคลเรียกยานนี้วา “บางรัก” แทนชื่อเดิม บางรักในวันนี้ก็ถือเปนชื่อที่

                       เปนมงคลเกี่ยวกับเรื่องความรัก จนทําใหในวันวาเลนไทนของทุกป มักจะมีคนไป จดทะเบียนกันที่เขต
                       บางรักมากเปนพิเศษเพราะเชื่อกันวาจะมีความรักสดชื่นสดใสเหมือนชื่อเขต


                       เรื่องที่ 2 ความสําคัญของเขตบางรัก

                               1. มิติดานสังคม
                                 ยานบางรัก เปนยานทันสมัยแหงแรกของกรุงเทพมหานคร บางรักจากอดีตจนถึง

                       ปจจุบันคือ แหลงธุรกิจการคานานาชาติที่สําคัญของกรุงรัตนโกสินทรเปนจุดรวมความทันสมัยและ
                       ศิลปวิทยาการใหมจากตางประเทศมาอยางยาวนาน ดวยไดรับอิทธิพลจากชาวตางชาติ โดยเฉพาะ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27