Page 29 - Bang rak111
P. 29

22




                                                            บทที่ 2

                                     สถานที่สําคัญทางศาสนาของบางรักศึกษานาเรียนรู




                       สาระสําคัญ
                               1. ประวัติของวัดมหาพฤฒารามวรวิหารเปนวัดโบราณที่สรางมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยายัง

                       เปนราชธานี ตั้งอยูทางฝงตะวันออกของคลองผดุงกรุงเกษม แตเดิมในชวงสมัยกรุงธนบุรีและ
                       รัตนโกสินทรตอนตน วัดนี้แตเดิมชื่อวา “วัดทาเกวียน” เนื่องจากเคยเปนที่พักแรมของกองเกวียน ที่
                       เดินทางเขามาคาขายในกรุงเทพมหานคร แตตอมาชาวบานก็พากันเรียกชื่อวัดนี้วา “วัดตะเคียน”
                       สันนิษฐานวา เรียกชื่อวัดตามตนตะเคียนที่ขึ้นหนาแนนอยูรอบบริเวณวัดที่มีอาณาบริเวณถึง 14 ไร

                       การเดินทางโดยรถโดยสารประจําทางสาย 135และ75และรถโดยสารประจําทางปรับอากาศปอ.75
                       การเดินทางมีความสะดวก รถผานหลายสายเปนที่ทองเที่ยวของชาวตางชาติจํานวนมากที่เดินทางมา
                       เที่ยวชมและลักษณะเดนของวัดมหาพฤฒารามวรวิหาร คือ จิตรกรรมฝาผนังของวัดมหาพฤฒาราม

                       วรวิหาร แตกตางจากวัดอื่นตรงที่เขียนเรื่อง “ธุดงควัตร13” และการไปสืบทอดพระพุทธศาสนาที่
                       ลังกาแทนการเขียนเรื่องทศชาติชาดกหรือพุทธประวัติของพระพุทธเจาของวัดอื่น โดยนําเอาศิลปะ
                       ทางตะวันตกมาเขียนภาพแบบ 3 มิติ
                               2. ประวัติของวัดหัวลําโพง ความเปนมาของวัดนี้มีผูรูประมวลไว โดยอาศัยจากการเลา
                       ตอๆ กันมาวา ในป พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาถูกพมาทําลายเผาผลาญบานเมือง ตลอดวัดวาอาราม

                       จนในที่สุดไดเสียกรุงแกขาศึก เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2310 ซึ่งเปนการเสียกรุงครั้งสุดทายใน
                       ประวัติศาสตร การสงครามครั้งนี้ประชาชนเสียขวัญและไดรับความเดือดรอนบางพวกไมสามารถที่จะ
                       อาศัยอยูถิ่นเดิมตอไปได จึงอพยพครอบครัวลงมาทางใตตั้งถิ่นฐานที่ บริเวณวัดหัวลําโพงในปจจุบัน

                       การเดินทางโดยรถโดยสารประจําทาง สาย 252934364750 และ93 รถโดยสารประจําทางปรับ
                       อากาศ ปอ. 2534365093141187และ 501 รถไฟฟามหานคร (Metropoliten  Rapid  Transit  :
                       MRT)สถานีสามยาน  และลักษณะเดนของวัดหัวลําโพง คือ ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังที่เกี่ยวกับเรื่อง
                       นรก สวรรค เทพ เทวดาชวยเตือนใจแกผูพบเห็น

                               3. ประวัติของวัดแกวแจมฟา วัดนี้ไดชื่อวาวัดแกวแจมฟาสันนิษฐานวาตั้งชื่อตามผูสราง คือ
                       นายแกว นางแจม เพราะวัดที่ไดชื่อเชนนี้มีหลายวัดดวยกัน และมิใชมีแตในกรุงเทพมหานครเทานั้น
                       ในหัวเมืองก็มีมาก ในกรุงเทพมหานครมีอยูถึง 2 วัด คือวัดแกวฟาบน กับวัดแกวแจมฟาลางวัดแกว
                       ฟามีซ้ํากันหลายวัด ซึ่งการเดินทางสามารถเดินทางโดยรถโดยสารประจําทาง สาย 11654575และ

                       93ปอ36ปอ.พ3และ ปอ.พ6 การเดินทางมาวัดแกวแจมฟา มีความสะดวกมีรถโดยสารประจําทาง
                       จํานวนหลายสายที่ผานหนาวัด และลักษณะเดนของวัดแกวแจมฟา คืออุโบสถวัดแกวแจมฟาซึ่ง
                       ภายในพระอุโบสถมีพระประธานปางมารวิชัย เพื่อใหผูคนกราบไหวและขอพร และยังมีการลอดโบสถ
                       เพื่อสะเดาะเคราะห ใหมีอายุยืนยาว หมดทุกข หมดโศก หมดโรค หมดภัย และมีความโชคดีเขามาใน

                       ชีวิต
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34