Page 31 - Bang rak111
P. 31

24




                       ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
                               1. บอกประวัติ แผนที่ การเดินทางและลักษณะเดนของสถานที่สําคัญทางศาสนาของ
                       เขตบางรักได

                               2. อธิบายความสําคัญและคุณคาของสถานที่สําคัญทางศาสนาของเขตบางรัก


                       ขอบขายเนื้อหา

                               บทที่2สถานที่สําคัญทางศาสนาของบางรักศึกษานาเรียนรูมีขอบขายเนื้อหาดังนี้
                                      เรื่องที่ 1วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร
                                      เรื่องที่ 2วัดหัวลําโพง

                                      เรื่องที่3วัดแกวแจมฟา
                                      เรื่องที่4วัดมวงแค
                                      เรื่องที่5มัสยิดฮารูณ
                                      เรื่องที่ 6วัดพระศรีมหาอุมาเทวี

                                      เรื่องที่ 7อาสนวิหารอัสสัมชัญ



                       สื่อประกอบการเรียน
                               1. ชื่อหนังสือ คูมือติดตอราชการ ชื่อผูแตง สํานักงานเขตบางรัก ป พ.ศ.ไมปรากฏปพิมพ

                       โรงพิมพไมปรากฏที่พิมพ
                               2. บทความเรื่องอาสนวิหารอัสสัมชัญผูเขียน:อาสาสมัครวิกิพีเดีย สืบคนจาก
                       https://th.wikipedia.org.wiki/อาสนวิหารอัสสัมชัญ
                               3. วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร สถานที่ตั้ง 517 ถนนมหาพฤฒาราม แขวงมหาพฤฒาราม
                       เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท 02 - 2371280



                       เรื่องที่ 1  วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร

                               1. ประวัติความเปนมา
                                 วัดมหาพฤฒารามวรวิหารเปนวัดโบราณที่สรางมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยายังเปนราช
                       ธานี ตั้งอยูทางฝงตะวันออกของคลองผดุงกรุงเกษมแตเดิมในชวงสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร

                       ตอนตน วัดนี้แตเดิมชื่อวา “วัดทาเกวียน” เนื่องจากเคยเปนที่พักแรมของกองเกวียน ที่เดินทางเขามา
                       คาขายในกรุงเทพมหานคร แตตอมาชาวบานก็พากันเรียกชื่อวัดนี้วา “วัดตะเคียน” สันนิษฐานวา
                       เรียกชื่อวัดตามตนตะเคียนที่ขึ้นหนาแนนอยูรอบบริเวณวัดที่มีอาณาบริเวณถึง 14 ไร
                                 ตอมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคเคยอยูในเพศ
                       บรรพชิตไดเสด็จมาพระราชทานผาปาที่วัดนี้ ในคราวนั้นพระอธิการแกวเจาอาวาสไดทูลถวาย

                       พยากรณวา “จะไดเปนเจาชีวิตในเร็วๆนี้” พระองคจึงมีรับสั่งวา “ถาไดครองแผนดินจริงจะมาสราง
                       วัดใหอยูใหม” หลังจากนั้นหลังจากเสด็จขึ้นครองราชยจึงโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหสถาปนาวัดขึ้น
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36