Page 35 - Bang rak111
P. 35

28




                       ขึ้นเปนขนาดความยาวจากพระบาทถึงพระเกตุมาลา 19.25เมตร และ พระอุระกวาง 3.25 เมตร พระ
                       นาภีกวาง 2 เมตร
                                  กลาวโดยสรุปลักษณะเดนของวัดมหาพฤฒารามวรวิหาร คือ จิตรกรรมฝาผนังของที่วัด
                       มหาพฤฒารามวรวิหาร แตกตางจากวัดอื่นตรงที่เขียนเรื่อง“ธุดงควัตร13”และการไปสืบ

                       พระพุทธศาสนาที่ลังกาแทนการเขียนเรื่องทศชาติชาดกหรือพุทธประวัติของพระพุทธเจาของวัดอื่น
                       โดยนําเอาศิลปะทางตะวันตกมาเขียนภาพแบบ 3 มิติ


                       เรื่องที่ 2วัดหัวลําโพง

                               1. ประวัติความเปนมา
                                 วัดหัวลําโพง ตั้งอยูเลขที่ 728ถนนพระรามที่ 4 แขวงสี่พระยา เขตบางรัก

                       กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ วัดวัวลําพอง เปนวัดราษฎร ใครเปนคนสรางและสรางเมื่อใดไมปรากฏ
                       หลักฐาน แตคาดวาคงสรางในสมัยตน กรุงรัตนโกสินทร ประมาณรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 3 ทั้งนี้โดย
                       อาศัยการสันนิษฐานจากรูปทรงของอุโบสถหลังเกาและเจดียดานหลังซึ่งสรางคูกันมา



















                                 ความเปนมาของวัดนี้ มีผูรูประมวลไว โดยอาศัยจากการเลาตอๆ กันมาวา ในป พ.ศ.
                       2310 กรุงศรีอยุธยาถูกพมาทําลายเผาผลาญบานเมือง ตลอดจนวัดวาอารามจนในที่สุดไดเสียกรุงแก

                       ขาศึก เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2310 ซึ่งเปนการเสียกรุงครั้งสุดทายในประวัติศาสตร การสงครามครั้งนี้
                       ประชาชนเสียขวัญและไดรับความเดือดรอน บางพวกไมสามารถที่จะอาศัยอยูถิ่นเดิมตอไปได จึงพา
                       กันอพยพครอบครัว ลงมาทางใตตั้งถิ่นฐานที่ บริเวณวัดหัวลําโพงในปจจุบันนี้เห็นวาเปนทําเลที่เหมาะ

                       ยังไมมีเจาของถือกรรมสิทธิ์ มีลําคลองเชื่อมโยงสะดวกตอการสัญจรไปมาจึงไดตั้งหลักฐานและจับจอง
                       ที่ดินนานปเขาตางก็มีหลักฐานมั่นคงเปนปกแผนทั่วกัน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40